ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 63

หลุมขุดค้นทางโบราณคด จั ด แสดงโครงกระดู ก มนุ ษ ย์ แ ละโครง กระดูกช้างจากการขุดค้นทางโบราณคดีเมื อ ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ และแสดงหลักฐานแหล่งโบราณคดีสมัยก่อน ประวัติศาสตร์ในเมืองศรีเทพและบริเวณใกล้เคียง โครงกระดูกช้างอายุร ว ่ มสมัยกับโบราณสถาน ส่วน ในระดับชั้นดินการอยู่อาศัยที่ลึกที่สุดได้พบโครง กระดูกที่ท�ำพิธีกรรมฝังไว้ในบริเวณเมืองศรีเทพ สิ ง ่ ของที อ ่ ท ุ ศ ิ ให้ศพเป็นจ�ำพวก ภาชนะดินเผา เครื อ ่ ง ประดับส�ำริด เครื่องมือเหล็ก ลูกปัดคาร์นีเลียน และลูกปัดดินเผา   ปัจจุบ น ั มีการเปิดหลุมขุดค้นขึ น ้ อีกแห่งหนึ ง ่ โดยไม่ไกลจากอาคารจัดแสดงนัก พบการอยู อ ่ าศัย ตั้งแต่ชั้นก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่มีการฝัง ศพที่มีโครงกระดูกสุนัขถูกฝังร่วมกัน โดยมีภาชนะ ดินเผาและเครื่องใช้อีกจ�ำนวนหนึ่ง และก�ำหนดค่า อายุเบื้องต้นได้ราว ๑,๗๐๐ ปีมาแล้ว หรือในช่วง ยุคเหล็กตอนปลาย ต่อมาพบวัฒนธรรมข้าวของ เครื่องใช้แบบทวารวดีและต่อเนื่องด้วยเครื่องถ้วย ในวัฒนธรรมแบบเขมร นอกจากนี้ การขุดค้นทางโบราณคดีที่บ้าน หนองแดง ต�ำบลสระกรวด นอกเมืองศรีเทพห่าง ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ราว ๑๒ กิโลเมตร พบหลุม ฝังศพของที่อุทิศให้ศพคือ ภาชนะดินเผา เครื่อง มือเหล็ก เครื่องมือส�ำริด ขวานหินขัด กระดูกสัตว และเปลือกหอย ชุมชนก่อนเมืองศรีเทพเหล่านี้ สันนิษฐาน ได้ว่าน่าจะมีอายุอยู่ในช่วงยุคโลหะตอนปลายหรือ อยู่ในสังคมที่มีการใช้เครื่องมือเหล็กแล้ว เป็นช่วง เวลาสุดท้ายก่อนการเข้าสู่สังคมแบบรัฐสมัยทวาร วดี ในยุคศรีจนาศะที่ผสมผสานระหว่างวัฒนธรรม แบบทวารวดีและแบบเขมรในเวลาต่อมา โบราณวัตถุยุคทวารวดีที่พบจากหลุมขุดค้น หลุมขุดค้นทางโบราณคดีแห่งใหม่ภายในเมืองใน ของเมืองโบราณศรีเทพ ตั้งอยู่ไม่ห่างจากหลุมขุดค้นที่พบ กระดูกช้างนัก และชั้นดิน ที่ขุดค้น พบเริ่มตั้งแต่สมัยก่อน ประวัต ศ ิ าสตร์ตอนปลาย ชั น ้ ดินส่วนใหญ่ค อ ื สมัยทวารวดี และ ชั น ้ ต่อมาคือสมัยลพบุรี และพบโครงกระดูกสุน ข ั สันนิษฐานว่า ถูกฝังร่วมกับเจ้าของด้วย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 63