ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 57

พระวิษณุที่จัดเป็นศิลปกรรมแบบเทวรูปรุ่นเก่าสวมหมวก ทรงกระบอก พบที่เมืองศรีเทพ แกะจากหินสูงกว่า ๒๐๗ เซนติเมตร นุ่งผ้าโจงกระเบนสั้นซึ่งเป็นอิทธิพลวัฒนธรรม แบบเขมร (ถกเขมร) ยืนเอียงตนลักษณะแบบตริภังค์ อาย ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๔ สุริยเทพที่พบจากศรีเทพจะมีรูปลักษณ์คิ้ว หนาต่อกันเป็นรูปปีกกา ตาโต บางองค์มีหนวด โง้งเคราหนา ซึ่งน่าจะสัมพันธ์กับบุคคลเชื้อสาย เปอร์เซีย สวมหมวกทรงสูงมีลวดลายคล้ายทรง สามเหลี ย ่ มเป็นลายงดงามประดับอยู ท ่ ง ั้ ๓ ด้าน ยืน พระกรหักหาย แต่เห็นลักษณะงอข้อศอกสันนิษฐาน ว่าแต่เดิมคงถือดอกบัว สวมต่างหูใหญ่เป็นรูปกลีบ ดอกไม้ ประดับกรองศอเป็นแผ่นรูปสามเหลี ย ่ มและ บางองค์มีสายคาดเอวหรืออวยังคะชัดเจน และม ประภามณฑลด้านหลังพระเศียร เทวรูปสุริยเทพพบที่เมืองศรีเทพมากที่สุด ในบรรดาเมืองโบราณในประเทศไทยคือ ๖ องค และน่าจะเป็นเมืองโบราณในภาคกลางแห่งเดียวท พบพระสุริยะ ท�ำจากฝีมือช่างท้องถิ่น อายุราวพุทธ ศตวรรษที่ ๑๓-๑๔ รูปแบบประติมากรรมเห็นได้ว า ่ ปรับรับอิทธิพลจากศิลปะแบบอินเดียใต้แบบคุปตะ และหลังคุปตะ หรือบางองค์ก็คล้ายกับพระสุริยะ ในราชวงศ์มถุรา ในรัฐอานธรประเทศ แล้วมาสร้าง เป็นงานประติมากรรมแบบของตนเอง เป็น “ศิลปะ แบบศรีเทพ” ต่อมามีความเชื่อที่ดูจะปรับเปลี่ยนไป แม จะกล่าวว่ามีแหล่งก�ำเนิดมาจากต�ำราโหราศาสตร ของฮินดูก็ตามคือ ความเชื่อเรื่องเทพนพเคราะห พบว่ามีการสลักเป็นกลุ่มเทพนพเคราะห์ เช่น ที่พบ บนทับหลังในปราสาทหินพิมาย ปราสาทพนมรุ้ง ปราสาทโลเลยในกัมพูชา และเป็นผู ค ้ รองเรือนชะตา ของมนุษย์ในต�ำราโหราศาสตร์ฮ น ิ ดู ซึ ง ่ มีเทพบริวาร อีก ๘ องค์ รวมเป็น ๙ องค์ ซึ่งจะให้โทษหรือสร้าง อุปสรรคให้ก บ ั มนุษย์มากกว่าจะให้ค ณ ต่อมาจึงต้อง มีผู้ควบคุมเทพนพเคราะห์อีกชั้นหนึ่ง นั่นคือ พระ คเณศ เทพผู้เป็นใหญ่เหนืออุปสรรคทั้งมวล เทพ นพเคราะห์ทั้ง ๙ องค์ คือ พระอาทิตย์ พระจันทร พระอังคาร พระพุธ พระพฤหัสบดี พระศุกร์ พระ เสาร์ พระราหู และพระเกต มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 57