ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 58

นอกจากประติมากรรมเทวรูปพระสุร ย ิ เทพ ยังปรากฏรูปพระสุริยะบนธรรมจักรหิน ทวารวด จ�ำนวน ๓ ชิ้น จากเมืองโบราณในภาคกลาง เป็น รูปบุคคลชาย นั่งขัดสมาธิ มือทั้งสองถือดอกบัวยก ขึ้นระดับหน้าอก จารึกบ้านวังไผ่และจารึกศรีเทพ จารึ ก บ้ า นวั งไผ่ ข ้ อ มู ล จากกรมศิ ล ปากร ระบุว่า สถานที่พบเป็นป่าใกล้บ้านวังไผ่ในอ�ำเภอ วิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ หรือพบห่างออกไปทาง เหนือจากเมืองศรีเทพประมาณ ๑๐ กิโลเมตร เป็น เสาเหลี ย ่ มมีรอยแตก เนื อ ้ หินบางส่วนหายไป อยู่ใน สภาพไม่ครบส่วน พระสุริยเทพจากเมืองศรีเทพ ซึ่งพบว่ามีมากที่สุดในกลุ่ม เมืองโบราณต่างๆ ในประเทศไทย 58 ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้/ศรีเทพ/เสมา” เคยถือกันว่าข้อความจากศิลาจารึกจาก การอ่านของ ศ.เซเดส์ ท�ำให้อนุมานว่า ศิลาจารึก บ้านวังไผ่มีความเก่าแก่ที่สุด แต่ต่อมาเมื่อมีการ ศึกษามากขึ้นจากนักวิชาการไทยและต่างประเทศ ก็เห็นต่างไป โดยอักษรรูปแบบจารึกที่เป็นอักษร แบบปัลลวะ ภาษาสันสกฤตนั้น น่าจะอยู่ ในราว พุทธศตวรรษที่ ๑๒ ต่างจากที่ก�ำหนดจากการ เปรียบเทียบเดิมถึงรัชกาลของศรีภววรมันที่อยู่ใน ช่วง พ.ศ. ๑๐๙๓ (พระเจ้ามเหนทรวรมันหรือเจ้า ชายจิตรเสนเป็นพระอนุชา) โดยมีการศึกษารูป แบบอักษรจากจารึกใหม่ที่น่าจะกล่าวถึงกษัตริย องค์หนึ่ง (ซึ่งน่าจะเป็นกษัตริย์ในท้องถิ่น) ผู้ทรงได รับการยกย่องว่ามีพระเกียรติยศเทียบเท่าพระเจ้า ภววรมั น เท่ า นั้ น มิ ไ ด้ ก ล่ า วถึ ง พระเจ้ า ภววรมั น โดยตรงแต่อย่างใด อิทธิพลของกษัตริย์แห่งเจนละ จากแถบชายเทือกเขาพนมดงเร็กอาจจะถูกน�ำมา จากถิ่นอื่นหรือสันนิษฐานว่าเป็นเรื่องของกษัตริย ท้ อ งถิ่ น ที่ อ ้ า งถึ ง กษั ต ริ ย ์ ผู ้ ยิ่ ง ใหญ่ แ ห่ ง เจนละน ข้อความโดยประมาณคือ “พระเจ้าแผ่นดินผู เ ้ ป็นราชนัดดาของพระเจ้า จักรพรรดิ์ เป็น พระโอรสของพระเจ้าปถถิวีน ทร วรมัน พระเจ้าแผ่นดินพระองค์นั้นทรงพระนามว่า ศรีภววรมัน ผู้เสมอด้วยพระอินทร์เป็นผู้มีคุณธรรม มี อ�ำนาจเป็ น ที่ เ กรงกลั ว ของศั ต รู   ได้ ส ร้ า งศิ ล า จารึกหลักนี้ ไว้ในปีที่เสด็จขึ้นครองราชสมบัติของ พระองค์” ส่วนจารึกศรีเทพอายุราวพุทธศตวรรษท ๑๒ โดยสรุปเป็นจารึกที่กล่าวสรรเสริญบุคคล ซึ่ง อาจเป็นพระราชา หรือเชื้อพระวงศ์ที่ปกครองเมือง ศรีเทพในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๒