ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 56

เทวรูปรุ่นเก่าและเทวรูปเด่นจากเมืองศรีเทพ “สุริยเทพ” เทวรูปรุ่นเก่าสวมหมวกทรงกระบอกพบท เมืองศรีเทพคือพระวิษณุ แกะจากหินสูงกว่า ๒๐๗ เซนติเมตร ลักษณะเป็น ประติมากรรมลอยตัว พระกรทั้งสี่ยกขึ้นไม่ติดกับส่วนองค์แต่หักหายไป นุ่งผ้าโจงกระเบนสั้นซึ่งเป็นอิทธิพลวัฒนธรรมแบบ เขมร (ถกเขมร) ยืนเอียงตนลักษณะแบบตริภังค และคล้ายกับที พ ่ บพระวิษณุสวมหมวกแขกที พ ่ บจาก เมืองโบราณที่ดงศรีมหาโพธิ์ ปราจีนบุรี เป็นหลัก ฐานของการนับถือศาสนาพราหมณ์ ฮินดูในช่วงยุค แรกๆ บนแผ่นดินไทย “สุริยเทพ” หรือพระอาทิตย์ ในศาสนา ฮินดูถือว่าเป็นเหตุแห่งการมีชีวิต ได้รับการบูชาใน ยามเช้าและมีว ด ั ฮินดูในอินเดียหลายแห่งที บ ่ ช ู าพระ สุริยะเป็นการเฉพาะ เทวรูปพระอาทิตย์ในอินเดีย บ้างเป็นเทพสองกรถือดอกบัว บ้างมีส ก ี่ รถือดอกบัว จักร สังข์ และคทา เมื่อราตรีกาลผ่านไป พระสุริย เทพก็จะประทับราชรถข้ามฟากฟ้ามาประทานความ อบอุ่นและชีวิตให้กับสัตว์โลกอีกครั้งเอาชนะความ มืด ผลัดเปลี่ยนกันไปตลอดกาล พระสุริยะเป็นเทพเก่าแก่และส�ำคัญองค หนึ ง ่ มีลัทธิเป็นเอกเทศของตนเองเรียกว่าลัทธิเสาระ ซึ ง ่ รุ ง ่ เรืองมากในสมัยหลังคุปตะราวพุทธศตวรรษท ๑๓-๑๔ พระองค์อยู่ในกลุ่มอาทิตยเทพที่มีทั้งหมด ๑๒ องค์ ซึ ง ่ มักบูชาควบคู ก ่ บ ั การบูชาเทพนพเคราะห หรือดาวเคราะห์อ ก ี ๙ ดวง การบูชากลุ ม ่ อาทิตยเทพ มีมานานแล้วในอินเดีย แต่พระสุร ย ิ ะยังไม่ได้ร บ ั การ ยกย่องมากนัก จนกระทั่งได้รับอิทธิพลจากอิหร่าน ในราชวงศ์กุษาณะราวพุทธศตวรรษที่ ๕-๘ โดย นักบวชอิหร่านที เ ่ คยอาศัยทางตะวันออกของอิหร่าน ปัจจุบันซึ่งมีสายรัดเอวที่เรียกว่าอวยังคะ หมายถึง เข็มขัดศักดิ ส ์ ท ิ ธิ ข ์ องผู น ้ บ ั ถือพระอาทิตย์เทียบได้ก บ ั 56 ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้/ศรีเทพ/เสมา” สายธุร�ำหรือสายยัชโญปวีตของพราหมณ สุริยเทพถือเป็นเทพแบบฮินดูองค์แรกๆ ท พบการสร้างประติมากรรมเพื่อเคารพบูชาในท้อง ถิ่น ในระยะแรกจะเป็นประติมากรรมเฉพาะองค แบบลอยตัว เช่น ที่พบจากไชยา สกุลช่างโจฬะจาก อินเดีย อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๕-๑๖ อันเป็นยุค ศรีวิชัยและสุริยเทพท�ำจากส�ำริด พบที่เมืองโบราณ ยะรัง ในจังหวัดปัตตาน พระสุริยะแต่งตัวหุ้มหน้าอกจนถึงเท้า ซึ่ง ไม่สวมรองเท้า ถ้าเป็นทางอินเดียใต้บริวารต่างๆ รวมทั้งรถม้าแบบทางเหนือหายไป ถือดอกบัวใน พระหัตถ์ในระดับบ่าทั ง ้ ๒ ข้าง สวมต่างหู สวมสร้อย ไข่มุกยาว คาดเข็มขัด (อวยังคะ) ไว้รอบเอว มีรัศม วงกลมล้อมด้านหลังพระเศียร พระสุริยเทพจากเมืองศรีเทพ ซึ่งพบว่ามีมากที่สุดในกลุ่ม เมืองโบราณต่างๆ ในประเทศไทย