ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 52

ภาพวาดผังเมืองศรีเทพ เห็นสระน�้ำจ�ำนวนมากทั้งเมืองในและเมืองนอกและบริเวณโดยรอบ เมืองศรีเทพแม้จะมีล�ำน�้ำสองสายไหล ผ่านอยู่ไม่ไกล แต่พื้นที่เป็นที่ราบลอนลูกคลื่นและร้อนแล้งในหน้าแล้ง การกักเก็บน�้ำในสระจึงเป็นความจ�ำเป็นของประชากร “เมืองท่าโรง” และ “เมืองศรีเทพ” มาเปลี่ยนเป็น ชื อ ่ “เมืองวิเชียรบุร ” ี สมัยรัชกาลที่ ๓ เมื อ ่ ครั ง ้ ปราบ กบฏเวียงจันทน์ พระศรีถมอรัตน์ม ค ี วามดีความชอบ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ยกเมืองศรีเทพเป็นเมืองตร พร้อมทั้งเปลี่ยนนามเจ้าเมืองจาก “พระศรีถมอ รัตน์” เป็น “พระยาประเสริฐสงคราม” และเปลี่ยน นามเมืองจากศรีเทพเป็นวิเชียรบุรี (ทรงอธิบายว่า “ถมอรัตน์” คือ “เขาแก้ว” ซึ ง ่ เป็นภูเขาส�ำคัญในท้อง ถิ น ่ ส่วน “วิเชียรบุร ” ี ก็มาจากชื อ ่ เขาแก้วที แ ่ ปลงมา เป็นวิเชียรนั่นเอง) เมื อ ่ สมเด็จกรมพระยาด�ำรงฯ เรียกผู ช ้ ำ � นาญ ท้องถิ่น มาสอบถามว่ามีเมืองโบราณอยู่ ในล�ำน�้ำ ป่าสักที่ ไหนบ้าง ได้รับข้อมูลว่ามีเมืองหนึ่ง เป็น เมืองโบราณขนาดใหญ่อยู่ ในป่าแดงใกล้กับเมือง วิเชียรบุรี ไปถึงได้ไ ม่ยาก ทรงล่องเรือจากเมือง วิเชียรบุรีไปขึ้นท่าเรือที่บ้านนาตะกรุดแล้วเดินทาง 52 ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้/ศรีเทพ/เสมา” บกมายังเมืองโบราณซึ่งอยู่ห่างจากล�ำน�้ำราว ๔ กิโลเมตร ทรงส�ำรวจเมืองโบราณแล้วมีพระราช วินิจฉัยว่า เมืองโบราณแห่งนี้น่าจะเป็นต้นเค้าของ การเรียกชื่อเก่าของวิเชียรบุรีว่าเมืองศรีเทพ จึง เรียกเมืองโบราณแห่งนี้ว่าเมืองศรีเทพนับแต่นั้น จากโบราณวัตถุตลอดถึงการขุดค้น ทาง โบราณคดี แสดงให้เห็นว่าการตั้งถิ่นฐานในเขต เมืองศรีเทพ มีมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร ตอนปลาย จนถึงสมัยทวารวดี และลพบุรี ก่อนท ศูนย์กลางทางการเมืองในย่านนี้จะย้ายไปที่เมือง เพชรบูรณ์ในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ซึ่งได้รับอิทธิพล วั ฒ นธรรมทางพุ ท ธศาสนาแบบลั ง กาวงศ์ จ าก สุโขทัย จนเมื่อสมัยรัตนโกสินทร์จนถึงเมื่อไม่นาน มานี้ ชุมชนในแถบศรีเทพและเขตลุ่มป่าสักมีผู้คน อยู่อาศัยอย่างเบาบางมาก ชุมชนต่างๆ เป็นเพียง หมู่บ้านขนาดเล็กที่มีผู้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานจากท