ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 44
ป้อมหินทางริมคูเมืองด้านตะวันออก ติดกับโรงเรียนพิบูล
วิทยาลัยในปัจจุบัน
ยังเมืองโบราณในแถบต้นล�ำน�้ำชีและล�ำน�้ำมูลของ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือได
เส้ น ทางนี้ คื อ การติ ด ต่ อ เข้ า สู ่ ชุ ม ชนใน
มัณฑละศรีจนาศะ และสามารถเดินทางไปสู่บ้าน
เมืองในเขตต้นน�้ำมูลและชี ในพื้นที่ราบสูงของภาค
อีสานได้ และยังเดินทางต่อเนื อ ่ งเข้าสู พ ่ น ื้ ที เ ่ ชิงเทือก
เขาพนมดงเร็ก ซึ ง ่ มีช อ ่ งเขาลงไปสู ท ่ ร ี่ าบเขมรต� ำ ่ ซึ ง ่
มีอาณาจักรขอมสมัยเมืองพระนครอันรุ ง ่ เรืองตั ง ้ อยู่
วัฒนธรรมแบบขอมจากลุ่มทะเลสาบจึงแพร่ผ่าน
เข้ามาทางด้านนี เ ้ ป็นหลัก จนเมืองละโว้สมัยทวารวด
ปรั บ เปลี่ ย นมารั บ ฮิ น ดู จ ากเขมรโบราณตั้ ง แต
ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๖ หรือในสมัยบาปวนจนถึง
สมัยบายนในพุทธศตวรรษที่ ๑๘
จารึกที่ศาลสูงเมืองลพบุรี ตรงกับ พ.ศ.
๑๕๖๕ และ ๑๕๖๘ พระนามในจารึกคือ “พระ
บาทกัมรเตงกําตว-อัญศรีสุริยวรรมเทวะ” ซึ่งมีค�ำ
ว่า “สุริยวรรม” และตรงกับช่วงเวลาที่พระเจ้าสุริย
วรมันที่ ๑ (พ.ศ. ๑๕๔๙-๑๕๙๓) ผู้สร้างปราสาท
นครวัดและรวบรวมบ้านเมืองในทะเลสาบเขมร
ขึ้นเป็นปึกแผ่นในระดับอาณาจักร และยังเป็นผู้ที่
นับถือพุทธศาสนาแบบมหายาน ไม่รังเกียจหินยาน
และยังคงให้ประชาชนนับถือฮินดูดังเดิมได้ ใน
44
ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้/ศรีเทพ/เสมา”
จารึกกล่าวถึงการบ�ำรุงอุปถัมภ์นักบวชทั้งที่อยู่ ใน
ศาสนาฮินดูและพุทธมหายาน และปรากฏค�ำว่า
“ก�ำตวน” แล้วไปโยงเอาค�ำว่า “ตวนหรือต่วน” อัน
เป็นค�ำในภาษามลายูที่ ใช้เป็นสรรพนามเรียกญาต
ผู้ใหญ่หรือผู้เป็นเจ้าปกครองและโยงให้พ้องกับ
ต�ำนานว่าเป็นกษัตริย์ที่มาจากราชวงศ์ตามพรลิงค
นครศรีธรรมราช
พระเจ้าสุริยวรมันที่ ๑ นี้สันนิษฐานว่าน่า
จะเป็นกษัตริย์จากบ้านเมืองในกลุ่มรัฐฟูนัน ทาง
สามเหลี่ยมปากแม่น�้ำโขงที่สัมพันธ์กับทางศรีวิชัยท
มักอ้างที่มาว่าสืบมาจากไศเรนทรวงศ์ ซึ่งพิจารณา
แล้วไม่น่าจะเป็นกษัตริย์ที่เกี่ยวข้องกับบ้านเมืองใน
ช่วงเวลาเดียวกันกับที่เมืองละโว้ แต่มีชื่อพ้องกัน
และน่าจะเป็นกษัตริย์ท้องถิ่นแห่งละโว้เอง
อิ ท ธิ พ ลวั ฒ นธรรมในศาสนาพุ ท ธแบบ
เศียรพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ได้รับอิทธิพลศิลปะ
แบบบายนในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ท
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ฯ