ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 37

เมืองชั้นในและเมืองชั้นนอกที่มีร่องรอยของช่อง ประตูผ่านจากเมืองในมาสู่เมืองชั้นนอก ก็นับเป็น ที่น่าเสียดายเป็นอย่างมากที่ ในการบูรณะขุดแต่ง และขุดค้นของทางกรมศิลปากรไม่ได้ให้ความ สนใจในการขุดค้นและขุดแต่งโบราณสถานที่เป็น พระราชวัง และโครงสร้างภายในแม้แต่น้อย ด ตั้งหน้าตั้งตาแต่เพียงการขุดแต่งแหล่งโบราณคด ที่เป็นศาสนสถานเพียงอย่างเดียว ความคล้ายคลึงที ถ ่ ด ั มาระหว่างเมืองเสมา กับเมืองศรีเทพก็คือ การมีศาสนสถานและแหล่ง พิธ ก ี รรมทางศาสนาที ม ่ ร ี ป ู แบบคล้ายคลึงกันในช่วง เวลาระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๔ กับระหว่าง พุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ ช่ ว งแรกเป็ น ช่ ว งพั ฒ นาการของบ้ า นท นับถือพุทธศาสนาเถรวาทผสมกับพุทธมหายาน เช่นเดียวกันกับบรรดาเมืองสมัยทวารวดี ในภาค กลางและภาคอื่นๆ ที่เต็มไปด้วยการสร้างวัดที่ม พระสถูปเจดีย์ วิหาร โบสถ์ และศาลา ที ม ่ ท ี ง ั้ ขนาด ใหญ่และเล็กกระจายไปในเขตเมืองชั้นใน โดย เฉพาะพระสถูปและวิหารและโบสถ์นั้นมักมีเสมา หินปักรอบแปดทิศ และวิหารโบสถ์และศาลานั้น มักเป็นอาคารโถง คือมีฐานก่อด้วยศิลาแลงหรือ อิฐ มีเสาแลงหรืออิฐรับโครงสร้างของหลังคาซึ่ง เป็นเครื อ ่ งไม้ม ง ุ ด้วยกระเบื อ ้ งกะบูด น ิ เผามีเชิงชาย คติการปักเสมาล้อมรอบศาสนสถานแบบน คงได้ร บ ั อิทธิพลมาจากทางลังกาที เ ่ มืองอนุราชปุระ อาจเป็นแบบพุทธสถานของพุทธมหายานของคณะ สงฆ์ฝ่ายอภัยคีรีที่หลวงจีนอี้จิงได้เคยพบมา และ กล่าวถึงในจดหมายเหตุการเดินทางไปสืบศาสนา ครั้งพุทธศตวรรษที่ ๑๓ เหตุที่ข้าพเจ้าเชื่อว่าเสมาหินเป็นอิทธิพล ของลังกาก็คือ ภาพสลัก ปูรณฆฏะ ที่พบกลางใบ เสมา แต่มีลักษณะเป็นหม้อน�้ำที่ไม่มีการตกแต่ง ตอนบนของหม้อเหมือนกันกับที พ ่ บตามใบเสมาใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงเวลาหลังคือระหว่างพุทธศตวรรษท ๑๔-๑๖ ทั ง ้ เมืองเสมาและศรีเทพก็ม ก ี ารเปลี ย ่ นแปลง ในเรื่องศาสนา ความเชื่อ และศิลปสถาปัตยกรรม เพราะเป็นช่วงเวลาที่แลเห็นอิทธิพลของอารยธรรม ฮินดูของขอมสมัยเมืองพระนครเข้ามาแทนที่ ซึ่งถ้า หากพิจารณาจากหลักฐานทางศิลาจารึกภาษาขอมท พบทั ง ้ เมืองเสมาและศรีเทพก็น า ่ จะเริ ม ่ แต่สมัย ราเชน ทรวรมัน ชัยวรมันที่ ๔-๕ และสุริยวรมันที่ ๑ ลงมา ที่เมืองเสมาตรงกลางของเมืองชั้นในที่เคย เป็ น กลุ ่ ม พุ ท ธศาสนาแบบทวารวดี ก็ มี ก ารสร้ า ง ปราสาทขอมขนาดใหญ่ที่มีระเบียงคดล้อมรอบขึ้น มาเป็นศูนย์กลาง แต่ดูแล้วยังสร้างไม่เสร็จดีเพราะ ยังไม่สมบูรณ์ในลวดลายภาพสลักประดับปราสาท และระเบียง อันเนื่องจากตัวเมืองเริ่มโรยร้างไป ซึ่ง พระกฤษณะ พบที่เมืองโบราณศรีเทพ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 37