ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 32

ขุดแต่งอย่างเป็นระบบเรียบร้อยแล้ว คงเป็นเมือง ส�ำคัญของมัณฑละศรีจนาศะ อันเป็นมหานครสมัย ทวารวดีท ส ี่ มบูรณ์ท ส ี่ ด ุ ในบรรดาเมืองนครร่วมสมัย ในดินแดนประเทศไทย การขุ ด แต่ ง และบู ร ณะโบราณสถานทั้ ง ภายในเมืองและรอบนอกของเมืองที ส ่ ภาพแวดล้อม ทางธรรมชาติและประวัติศาสตร์ที่ยังไม่ถูกรบกวน จากการพัฒนาทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวหรือแม้แต่การเป็นมรดกโลกนั้น เผยให เห็นโครงสร้างทางผังเมืองที่เป็นมหานครและปุระ อันประกอบด้วยเมืองที่มีคูน�้ำล้อมรอบชั้นนอกและ ชั้นใน ที่มีพื้นที่รอบนอกโดยเฉพาะทางตอนเหนือ ที่มีศาสนสถานคลังนอกเป็นศาสนสถานที่ส�ำคัญ อันแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างตัวเมืองและ ปริมณฑลของนครขนาดใหญ่ เช่นเดียวกันกับเมือง นครชัยศรีอันเป็นเมืองนครในลุ่มน�้ำล�ำคลองและ เป็นเมืองท่าใกล้ทะเล ณ เมืองศรีเทพ เราได้เห็นต�ำแหน่งของ ศาสนสถานส�ำคัญภายในเมืองและนอกเมืองเช่น เดียวกันกับเมืองนครชัยศรี คือศาสนสถานคลังใน และคลังนอกของเมืองศรีเทพ เปรียบกับพระมหา สถูปพระประโทนกลางเมืองนครชัยศรี กับพระประ ธมหรือปฐมเจดีย์นอกเมือง อันเป็นศูนย์กลางของ การจาริกแสวงบุญและการประเพณีกราบไหว้บูชา ในเวลานักขัตฤกษ์ในรอบป เมืองเสมาและจารึกศรีจนาศะ จากการศึกษาร่องรอยของเมืองโบราณ เพื่อดูพัฒนาการทางการเมืองของรัฐของอาจารย มานิต วัลลิโภดม ที่สืบต่อมาจนถึงสมัยข้าพเจ้า พบ ว่าบรรดาบ้านเมืองภายในตามเส้นทางการค้าทาง คมนาคมที เ ่ กิดขึ น ้ แต่พ ท ุ ธศตวรรษที่ ๑๓ เป็นต้นมา นั น ้ มีการสร้างเครือข่ายรวมตัวกันเป็นมัณฑละหรือ 32 ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้/ศรีเทพ/เสมา” สหพันธรัฐภายในขึ้น ในนามของ “ศรีจนาศะ” ที่มาของชื่อศรีจนาศะมาจากศิลาจารึกสอง หลัก หลักหนึ ง ่ พบที เ ่ มืองเสมา ต�ำบลบ่ออีกา อ�ำเภอ สูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา อีกหลักหนึ ง ่ พบที่โบสถ พราหมณ์ ในเมืองพระนครศรีอยุธยา จารึ ก จากบ่ อ อี ก าใช้ อั ก ษรขอมโบราณ ภาษาสันสกฤตและเขมร พ.ศ. ๑๔๑๑ มีสองด้าน ด้านแรกกล่าวถึงพระราชาธิบดีแห่งศรีจนาศะทรง อุทิศทาสและสัตว์ให้พระภิกษุสงฆ์เพื่อมุ่งหวังพระ โพธิญาณและด้านที ส ่ องกล่าวถึงการบูชาสรรเสริญ พระศิวะของบุคคลหนึ ง ่ ชื อ ่ อังศเทพ ในดินแดนที อ ่ ยู่ นอก “กัมพูชาเทศะ” ส่วนศิลาจารึกหลักที่สองซึ่ง พบที่อยุธยา พ.ศ. ๑๔๘๐ หลังจารึกหลักแรก ๓๙ ปี กล่าวถึงพระราชาแห่งจนาศะปุระ หลายรัชกาล เริ่มแต่องค์แรกทรงพระนาม ภัคทัตต์ องค์ต่อมา คือ สุนทรปรากรม และ สุนทรวรมัน พระเจ้าสุนทร วรมันมีโอรส ๒ องค์ องค์แรกทรงพระนาม นรปต สิงหวรมัน ผู้เป็น พระราชาของเมืองจนาศะปุระ ส่วนองค์น้องทรงพระนาม มงคลวรมัน เป็นผู้สร้าง จารึกหลักนี้เพื่อฉลองการสร้างรูปพระมารดาเป็น พระอุมาเทว ความต่างกันระหว่างชื อ ่ ของจนาศะในจารึก ทั้งสองหลักก็คือ หลักแรกที่พบที่เมืองเสมานั้น พูด ถึงพระราชาแห่งศรีจนาศะ ซึ่งมีลักษณะเน้นความ ส�ำคัญอยู่ที่พระมหากษัตริย์ คล้ายๆ กันกับจารึกท กล่าวถึง พระผู้เป็นใหญ่แห่งศรีทวารวด ดังนั้น ค�ำว่า ศรีจนาศะ หมายถึงแว่นแคว้น ที่เป็นมัณฑละ ในขณะที จ ่ ารึกหลักที ส ่ องพบที อ ่ ยุธยากล่าว ถึง พระนามของพระมหากษัตริย ผ ์ ค ้ ู รองจนาศะปุระ ซึ่งหมายถึงเมืองที่ชื่อ จนาศะ เหตุนี้จึงมีนักวิชาการ หลายท่านรวมทั้งข้าพเจ้าเห็นด้วยกับสิ่งที่ รศ. ดร. ธิดา สาระยา เสนอว่าเมืองศรีเทพในลุ่มน�้ำป่าสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ คือ เมืองจนาศะปุระ แต่ข้าพเจ้า