ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 30

ที่เมืองเสมาอันเป็นเมืองคู่แฝด หากร่องรอยบางอย่างในการขุดค้น ทาง โบราณคดีของกรมศิลปากรแสดงให้เห็นว่า ศาสน สถานฮินดูในสมัยก่อนเมืองพระนครที่ร่วมรุ่นเดียว กับศาสนสถานคลังในและอื่นๆ ที่เป็นพุทธมหายาน นั้น ได้มีการสร้างทับใหม่เป็นปราสาทขอมสมัย เมืองพระนคร และมีการน�ำเอาศาสนวัตถุร ป ู เคารพ เช่น ศิวลึงค์ ฐานโยนี และเทวรูปพระนารายณ พระอาทิตย์ และอื่นๆ มาประดิษฐานไว้ในศาสน สถานที ส ่ ร้างใหม่ เหตุน เ ี้ มื อ ่ เมืองศรีเทพร้างไปจนถึง สมัยกรุงเทพฯ รูปเคารพเหล่านั น ้ จึงได้ถ ก ู น�ำมาเก็บ ไว้ตามพิพิธภัณฑสถานแทน แต่สิ่งที่ต้องตั้งเป็นข้อสังเกตที่ส�ำคัญในที่น ก็ค อ ื การหันหน้าไปทางทิศตะวันตกของศาสนสถาน ฮินดูก บ ั การหันไปทางทิศตะวันออกของศาสนสถาน พุทธ ที่เห็นชัดคือการหันหน้าไปทางตะวันตกของ ทั้งปรางค์ศรีเทพและปรางค์สองพี่น้องนั้น สัมพันธ กับการเข้าออกประตูเมืองทางด้านตะวันตกให้เป็น ประตูส�ำคัญ เพราะมีแนวคันดินและสิ่งก่อสร้าง สองข้างทางเป็นร่องรอยให้เห็นถึงทางเดินจากปาก ประตูเมืองทางด้านตะวันตกมายังศาสนสถานกลาง เมืองของปรางค์ศรีเทพและปรางค์สองพี่น้อง ในขณะที่การหันหน้าไปตะวันออกของพระ มหาสถูปคลังใน ก็ม แ ี นวทางและสิ ง ่ ก่อสร้างที แ ่ สดง ให้เห็นว่าเมืองหันหน้าไปทางตะวันออก โดยมีเส้น ทางเดินจากหน้าศาสนสถานคลังในผ่านไปออก ประตูเมืองชั้นในไปสู่พื้นที่บริเวณเมืองชั้นนอก ไป สู่บริเวณที่ข้าพเจ้าเคยคิดว่าจะเป็นบริเวณที่ตั้งของ พระราชวัง และตรงมุมด้านเหนือของพระราชวัง ติดกับสระน�้ำขนาดใหญ่ที่เรียกว่าสระขวัญ มีร่อง สระขวัญ ใช้เป็นน�้ำศักดิ์สิทธิ์ส�ำหรับประกอบพระราชพิธ ส�ำคัญของบ้านเมือง ซึ่งพบว่ามีการท�ำบันไดลงสระน�้ำ และพบโบราณวัตถุบางส่วน 30 ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้/ศรีเทพ/เสมา”