ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 20
พระนารายณ์ ข นาดเล็ ก พบ
ที่ ศ าลสู ง ๒ องค์ และเก็ บ รั ก ษาไว
ในพิพิธภัณฑ์องค์หนึ่ง รูปแบบคล้าย
กั บ เทวรู ป พระนารายณ์ รุ่ น เก่ า จาก
นครศรีธรรมราชและไชยา ซึ่งพบอีกท
ศาลเจ้าพ่อพระยาจักร เมืองอู่ทอง และ
ศาลหลักเมืองสุพรรณบุร
เฉียงเหนือตามที่กล่าวมา สะท้อนให้เห็นการมีพื้นท
ติดต่อกับบ้านเมืองต่างๆ ที่กว้างขวางกว่าเมือง
นครชัยศรีหรือนครปฐมโบราณ
นครชัยศรีแม้จะเป็นเมืองทางน�้ำที่มีขนาด
ใหญ่และเจริญกว่าด้วยแหล่งศาสนสถานและศิลป
วัฒนธรรมในสมัยทวารวดีก็ตาม แต่ก็ต้องโรย
ร้างและเปลี่ยนสภาพเล็กลง อันเนื่องจากเส้นทาง
คมนาคมทางน�้ำเปลี่ยน ชุมชนบ้านเมืองจึงเปลี่ยน
ต�ำแหน่งที ต ่ ง ั้ ตามไป ต่างกันกับเมืองละโว้ท เ ี่ ส้นทาง
คมนาคมทั้งทางน�้ำ ทางบก และเครือข่ายของบ้าน
เมืองยังด�ำรงอยู่อย่างไม่เปลี่ยนแปลงไปมาก
ท�ำให้ต้องหันมาทบทวนต�ำแหน่งที่ตั้งของ
เมืองแต่สมัยทวารวดีจากจดหมายเหตุการเดินทาง
ของ หลวงจีนฟาเหียน หลวงจีนเหี้ยนจัง และหลวง
จีนอี้จิง อีกครั้ง โดยใช้แนวระนาบความสัมพันธ
ตะวันตก-ตะวันออกว่า ในพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๓
นั้น มี “แคว้นหลั่งยะสิว” อยู่ทางตะวันออกของ
“แคว้นศรีเกษตร” ถัดไปทางตะวันออกของหลั่งยะ
สิว คือ “โตโลโปตี” ที่หมายถึงทวารวดี อีศานปุระ
20
ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้/ศรีเทพ/เสมา”
และมหาจามปา
แต่ทวารวดีคือชื่อของแคว้นหรือมัณฑละท
ตัวเมืองส�ำคัญในพุทธศตวรรษที่ ๑๒ คือ “ลวปุระ
หรือเมืองละโว้” เป็นศูนย์กลางของมัณฑละที่พระ
มหากษัตริย์ผู้เป็นพระประมุขประทับอย
ส่วนทางต�ำนานจามเทวีวงศ์ ชินกาลมาล
ปกรณ์ และมูลศาสนา ทางเมืองหริภุญชัยกล่าวว่า
พระฤๅษีวาสุเทพผู้สร้างนครหริภุญชัยส่งทูตมายัง
พระจักรพรรดิผู้ครองละโว้ ขอพระนางจามเทว
พระราชธิดาไปปกครองเมืองหริภุญชัยและเมือง
ละโว้ ในสมัยเวลาต่อมาหลังพุทธศตวรรษที่ ๑๒-
๑๓ แล้ว เกิดสงครามชิงเมืองขึ้น โดยกษัตริย์จาก
หริภุญชัยยกทัพมาท�ำสงครามชิงเมือง ในขณะท
ท�ำสงครามนั้นก็มีกษัตริย์จากนครศรีธรรมราชยก
กองทัพขึ น ้ มายังเมืองละโว้ ตีเข้าเมืองละโว้ได้ท ำ � ให
กษัตริย์ของเมืองละโว้ต้องรีบยกกองทัพขึ้นไปยึด
เมืองหริภุญชัยแทน โดยไม่มี ใครทราบว่ากษัตริย
จากเมืองหริภุญชัยไปอยู่ ณ ที่ใด
เหตุการณ์ในต�ำนานครั้งนี้ นักโบราณคด