ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 17
และสุวรรณภูมิ ซึ่งแสดงให้เห็นจากหลักฐานการ
ขุดค้นทางโบราณคดีที่ต�ำบลท่าแค ต�ำบลห้วยโป่ง
เมืองซับจ�ำปา จังหวัดลพบุรี บ้านใหม่ชัยมงคลท
จันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เป็นต้น
ชุมชนบ้านเมืองเหล่านี้ในยุคเหล็กหาได้อยู
โดดเดี่ยวไม่ หากมีความสัมพันธ์กับการค้าระยะ
ไกลจากแหล่งอารยธรรมยุคส�ำริดจากทางยูนนาน
ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากรูปแบบของอาวุธและเครื่อง
มือเครื่องใช้ ตลอดจนเครื่องประดับ เช่น รูปแบบ
ของขวานส�ำริด กลองส�ำริด ก�ำไลส�ำริด ตุ้มห
ลูกปัดที่ท�ำด้วยหินสี หินกึ่งหยก สิ่งที่โดดเด่นที่สุด
ของแหล่งโบราณคดีที่บ้านท่าแค ซึ่งนอกจากเป็น
แหล่งอุตสาหกรรมทองแดงและเหล็กแล้ว ยังเป็น
แหล่งผลิตเครื่องประดับด้วยหอยทะเลลึก เช่น
หอยมือเสือและหอยสังข์ การใช้เปลือกหอยทะเล
ลึกท�ำเครื่องประดับและเป็นวัตถุมงคลนี้ เป็นสิ่ง
สากลของบรรดาบ้านเมืองโบราณที่มีความสัมพันธ
การค้าระยะไกลโพ้นทะเลมาราว ๓,๐๐๐ ปีทีเดียว
จากรู ป แบบของโบราณวั ต ถุ เช่ น
เครื่ อ งปั ้ น ดิ น เผาที่ ใ ช้ ใ นการเซ่ น ศพซึ่ ง พบตาม
แหล่งฝังศพในพื้นที่ลุ่มน�้ำลพบุรี-ป่าสักนั้น มีความ
คล้ า ยคลึ ง กั บ รู ป แบบของกลุ ่ ม วั ฒ นธรรมแบบ
ซาหวิ่งห์อันเป็นบรรพบุรุษพวกจามในเวียดนาม คน
เหล่านี้เป็นพวกพ่อค้าระยะไกลทั้งทางบกและทาง
ทะเล และเป็นกลุ่มชนที่น�ำพาเครื่องประดับและ
รูปแบบของศิลปะแบบดองซอนแพร่ไปตามชุมชน
ต่างๆ ที่อยู่ชายฝั่งทะเลจีน ซึ่งรวมทั้งประเทศไทย
ด้วย เช่นเดียวกันกับเมืองอู่ทองและชุมชนทางฟาก
ตะวันตกและฝั่งอันดามันของลุ่มน�้ำเจ้าพระยาที่ม
การเกี่ยวข้องกับอินเดียในสมัยสุวรรณภูมิ คือราว
พุทธศตวรรษที่ ๒-๓ ลงมา บ้านเมืองทางฟากฝั่ง
เมืองละโว้ก็มีความสัมพันธ์ด้วยเช่นกัน แต่ไม่มาก
เท่ากับทางฝั่งเมืองอู่ทอง
หลักฐานที่แสดงให้เห็นก็คือบรรดาภาชนะ
ดินเผาสีด�ำที่มีการขัดผิวและประดับด้วยลายเส้น
เบาๆ ที่ ไ ม่ กิ น ลงไปถึ ง พื้ น ผิ ว ภาชนะ เป็ น สิ่ ง ที
ศาสตราจารย์วิลเฮล์ม จี. โซลไฮม์ (Prof. Wilhelm
G. Solheim) จากมหาวิทยาลัยฮาวาย สหรัฐอเมริกา
พบเห็นจากการขุดค้นแหล่งโบราณคดี ในที่ราบสูง
โคราช โดยเฉพาะในชั้นดินชั้นล่างของปราสาทหิน
พิมาย โซลไฮม์ให้ชื่อภาชนะดินเผานี้ว่า พิมายด�ำ
[Phimai Black] มีอายุราว ๕๐๐ ปีก่อนคริสตกาล
ลงมา เป็นรูปแบบที่พบตามแหล่งโบราณคดี ใน
ประเทศอินเดีย ได้มีการพบเห็นภาชนะแบบพิมาย
ด�ำนี้ในที่อื่นๆ เช่นที่ เมืองจันเสน ซับจ�ำปา และ
ศรีเทพ
จากอิทธิพลของการค้าระยะไกลทั้งทางบก
และโพ้นทะเลทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลจีน ท�ำให้ม
พัฒนาการของเมืองท่าทางชายขอบที่สูงทางฟาก
ตะวันออกของลุ่มน�้ำเจ้าพระยาหลายเมืองตั้งแต
สมัยฟูนันลงมา เช่น เมืองอู่ตะเภาที่ต�ำบลหางน�้ำ
สาคร เมืองจันเสน เมืองละโว้ และเมืองขีดขิน
จังหวัดสระบุร
เมืองละโว้ : ศูนย์กลางของเส้นทางคมนาคมทั ง ้
ทางบกและทางน� ำ ้ ที ต ่ ด ิ ต่อไปยังดินแดนภายใน
ทางเหนือและทางตะวันออกเฉียงเหนือ
ความสัมพันธ์ก บ ั บ้านเมืองที อ ่ ยู ท ่ างเหนือได
กล่าวไปแล้ว ส่วนที่ไปทางตะวันออกยังลุ ม ่ น� ำ ้ ป่าสัก
และที่ราบสูงโคราชนั้นมีหลายเส้นทาง ที่ส�ำคัญก
คือเส้นทางที่ขึ้นไปตามล�ำน�้ำลพบุรี จาก หน้าเมือง
ผ่านทุ่งพรหมมาสตร์ ไปเขาสมอคอนและวัดไลย
เข้าบางขามไปยังต�ำบลมหาสอนและบางพึ่ง ผ่าน
“เมืองวังไผ่” ที่อยู่ตรงทางแยกของแม่น�้ำที่จะไป
ทางเหนือ แต่ไม่ไป กลับหักขึ้นไปทางตะวันออกยัง
บ้านหมี่ เดินทางบกตามล�ำน�้ำเข้าสู่พื้นที่สูงอันเป็น
บริเวณต้นน�้ำลพบุรี ผ่านชุมชนโบราณที่เป็นสมัย
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ
17