เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 42
คลองท่าช้างด้านเหนือ กล่าวกันว่าเคยมีอยู ห ่ ลายร้อยหลุม
จนกระทั่งต้องท�ำค่ายทหารจึงเวนคืนที่ดินฮวงซุ้ยเหล่านั้น
ออกไป
ปัจจุบ น ั พบว่ายังมีฮวงซุ ย ้ ของตระกูลสุนทรเวชอยู่
หลังหนึ ง ่ ในเขตค่ายตากสิน ซึ ง ่ อยู แ ่ ถบแนวตะพักเนินดินดัง
กล่าว จารึกบนป้ายหลุมศพ กล่าวถึงช่วงเวลาในการฝังท
หลุมนี้อยู่ในช่วงปี พ.ศ. ๒๓๑๓ (ขึ้น ๑ ค�่ำ เดือน ๑๑ ป
เกอิ น ๊ ฤดูเก็บเกี ย ่ ว แผ่นดินไต้เช็ง ที ฝ ่ ง ั ศพของภรรยาหลวง
แซ่ลี้ ของตระกูลแซ่ตัน บุตรชายเซยฮุยกับเม่าเตี้ยน ร่วม
กันสร้าง) นอกจากนี้ยังค้นพบอีกว่าบริเวณสวนแนวตะพัก
เดียวกันยังมีหลุมฝังศพที่น่าจะมีอายุรุ่นราวคราวเดียวกัน
อีก ๒-๓ หลุมหลงเหลืออย
ความส�ำคัญของ “เมืองจันทบูร” จนกลายเป็นท
รู จ ้ ก ั กันทั ว ่ ประเทศส�ำหรับผู ส ้ นใจทางประวัต ศ ิ าสตร์ค อ ื การ
หลุมฝังศพของตระกูลสุนทรเวช ซึ่งเป็นคนจีนเชื้อสายฮกเกี้ยน
ซึ่งอพยพมาจากเมืองในโคชินจีนหรือบริเวณสามเหลี่ยมแม่น�้ำโขง
ภายในค่ายตากสิน ก�ำหนดอายุเก่าไปถึง พ.ศ. ๒๓๑๓
42
คู่มือ “เยี่ยมยามเมืองจันทบูร”
เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ
ที่สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ครั้งมารวบรวมไพร่พลกลับไปก
กรุงศรีอยุธยา เมื อ ่ ครั ง ้ กรุงฯ แตก เมื อ ่ เจรจาต่อรองกับเจ้า
เมืองจันทบูรไม่ส�ำเร็จและถูกหลอกล่อถ่วงเวลาไปเรื่อยๆ
จึงปรารภเปรียบเปรยแก่ไพร่พลที่วัดแก้วริมเมืองจันทบูร
ว่า “ให้ทุบหม้อข้าวหม้อแกงเสียให้สิ้น ต้องเข้าตีให้ส�ำเร็จ
สถานเดียว”
พระเจ้าตากสินฯ พร้อมกองก�ำลังพลพรรคทั ง ้ มวล
บุกเข้าโจมตีเมืองจันทบูรทุกด้านในดึกคืนนั้นแล้วยึดเมือง
จันทบูรได้ ส่วนพระยาจันทบูรพาลูกเมียหนีลงเรือเดินทะเล
เลียบชายฝั ง ่ ไปยังเมืองพุทไธมาศหรือบันทายมาศหรือเมือง
ฮ่าเตียนในประเทศเวียดนามปัจจุบัน
ทุกวันนี้แม้จะมีเอกสารบันทึกเรื่องเล่าโดยหลวง
สาครคชเขตต์ในต�ำแหน่งวัดแก้วว่า “วัดแก้วหรือวัดป่าแก้ว
ตั ง ้ อยู ภ ่ ายนอกก�ำแพงเมืองทางด้านหลังของค่ายทหารที ต ่ ง ั้
เป็นกองร้อยทหาร ซึ่งสร้างขึ้นใหม่ในภายหลังเดี๋ยวนี้แห่ง
หนึ่ง และวัดป่าแก้วนี้เองปรากฏว่า เคยเป็นที่ชุมนุมพล
ของสมเด็จพระเจ้าตากสิน (พระเจ้ากรุงธนบุร ) ี ก่อนที ท ่ รง
ยกก�ำลังเข้าตีเมืองจันทบุรีในเวลานี้ ซากของวัดแห่งนี พ ้ อท
จะเห็นได้ก ค ็ อ ื ยังมีฐานแท่นพระอุโบสถเป็นส�ำคัญอยู บ ่ า ้ ง”
สอดคล้องกับค�ำบอกเล่าของชาวบ้านท่าช้างคือ คุณยาย
เนียม รัตนไพร สิ้นเคราะห์ อายุ ๙๑ ปี (บ้านเลขที่ ๔ หม
๓ ต�ำบลท่าช้าง อ�ำเภอเมืองฯ จังหวัดจันทบุรี สัมภาษณ
กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒) ซึ่งเป็นชาวบ้านท่าช้างมาแต่ดั้งเดิม
และมีสามีเป็นทหารม้าในสมัยนั น ้ เล่าว่าเมื อ ่ ตนยังเป็นเด็ก
พ่อแม่พากันมาท�ำบุญส่งทุ่งที่ “วัดแก้ว” ซึ่งชี้จุดได้ตรงกัน
กับที่หลวงสาครคชเขตต์ระบุไว้ คืออยู่นอกเมืองทางด้าน
เหนือของแนวก�ำแพงเมืองที่ห่างออกไปราว ๒๐๐ เมตร
ทุกวันนี้ซากอาคารของวัดแก้วนั้นไม่หลงเหลืออยู่ เพราะ
สร้างอาคารเรือนแถวยาว และเหลือเพียงฐานศิลาแลงเป็น
แนวตัวอาคาร หินทรายหินปูนถูกล�ำน�้ำพัดพาจนมนไม่ม
เหลี ย ่ มน่าจะลอกมาจากล�ำน� ำ ้ ท่าช้างนี ท ้ ช ี่ าวบ้านแถบนี เ ้ คย
ย่อยหินขาย ใช้เป็นพื้นฐานอาคารเพื่อสร้างความแข็งแรง
และชิ้นส่วนอิฐดินเผาและชิ้นส่วนกระเบื้องดินเผาส�ำหรับ
เป็นอาคารโบราณสถาน เศษภาชนะเนื้อแกร่งจ�ำนวนมาก