เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 41
อย่างใด แต่ท�ำให้เห็นว่า เมืองจันทบูรนั้นมีความส�ำคัญ
ส�ำหรับการเป็นเมืองท่าค้าขายที ท ่ ำ � รายได้ให้ร ฐ ั เป็นจ�ำนวน
มาก และรัฐสยามให้ความส�ำคัญมากพอที่จะส่งเจ้าเมือง
เชื้อสายมุสลิมผู้มีความช�ำนาญในการเดินเรือสินค้าและ
การค้าในเครือข่ายทางทะเลเข้ามาควบคุมดูแลบ้านเมือง
ในแถบน
ส่วนข้อมูลที ก ่ ล่าวว่า ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ
นี้ได้สร้างเมืองที ม ่ ค ี ค ู น ั ดินล้อมรอบเนินสูงที ร ่ ม ิ คลองท่าช้าง
และก่อคันดินที่กลายเป็นป้อมในเมือง [Citadel] อันเป็น
ที่อยู่ของเจ้าเมืองมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์จนกลายเป็น
เมืองจันทบูรก็ยังไม่เห็นข้อมูลในเอกสารใด
เมืองจันทบูรเป็นเมืองมีคูน�้ำคันดิน และอยู่ ใน
ชัยภูมิที่ ได้เปรียบบนที่เนินสูงกว่าบริเวณโดยรอบ อยู่ริม
ล�ำน�้ำท่าช้าง อันเป็นสาขาของล�ำน�้ำจันทบูร พื้นที่ส่วน
ใหญ่อยู่ในบริเวณค่ายตากสินในปัจจุบ น ั และน่าจะมีอาณา
บริเวณนอกค่ายทหารมาทางฝั ง ่ ที เ ่ ป็นที ต ่ ง ั้ ของอาคารศาลา
กลางเก่า แถบอาคารศาลไปจนถึงแนวหลังวัดโบสถ์เมืองซึ ง ่
พบเพียงเล็กน้อย แต่ทว่าสภาพของคูคันดินที่เป็นร่องรอย
ของเมืองจันทบูรเก่านั้นยังปรากฏอยู่มากเฉพาะบริเวณ
ค่ายตากสินเท่านั้น พ้นเขตทหารออกมาก็แทบไม่พบเห็น
ร่องรอยเลย จนท�ำให้เกิดความสับสนและไม่แน่ใจว่าเมือง
จันทบูรเก่าเคยมีอยู่ตรงบริเวณใด
นักโบราณคดี คุณพีรพงษ์ พิสณุพงศ์ ครั้งท�ำงาน
อยู ท ่ ห ี่ น่วยศิลปากรที่ ๔ ปราจีนบุรี ส�ำรวจรูปแบบของเมือง
โบราณแห่งนี ว ้ า ่ “...น่าจะเป็นเมืองรูปสี เ ่ หลี ย ่ มผืนผ้า ขนาด
กว้างทางทิศเหนือและใต้ ๔๐๐-๔๕๐ เมตร ยาวทางทิศ
ตะวันออกและตะวันตก ๕๕๐-๖๕๐ เมตร มีคันดินขนาด
กว้างราว ๘-๑๐ เมตร ยกสูงประมาณ ๒-๓ เมตร และยัง
ปรากฏคันดินขนาดเล็กทอดยาวตามแกนทิศเหนือใต้ขนาด
กว้างประมาณ ๔ เมตร สูงประมาณ ๑.๕ เมตร บริเวณ
ตอนกลางของแนวคันดินทิศตะวันออกท�ำเป็นรูปปีกกา
คล้ายช่องประตูเปิดออก และสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นที่ตั้ง
จวนเจ้าเมือง ...และให้ข้อสังเกตว่าคันดินด้านตะวันออก
นั้นไม่แน่ใจว่าจะมีด้านนี้ เพราะอาจใช้แนวปราการตาม
แผนผังแสดงการส�ำรวจต�ำแหน่งคันดินและคูน�้ำเก่า
ของเมืองจันทบูร โดยส�ำนักศิลปากรที่ ๕ กรมศิลปากร
ราว พ.ศ. ๒๕๓๕
ธรรมชาติซ ง ึ่ เป็นตะพักยกตัวสูงจากชายตลิ ง ่ คลองท่าช้าง”
ข้อมูลนี้ตรงกับการบันทึกภาพผังเมืองและข้อมูล
ส่วนหนึ่งของกัปตันเจอร์ราร์ด ผู้บังคับบัญชากองทหาร
ฝรั่งเศสที่เข้ายึดเมืองจันทบุรี ในช่วงรัชกาลที่ ๕ อย่าง
สอดคล้องกัน และตะพักคันดินโดยธรรมชาตินี้ชาวจีนรุ่น
ต่อมาถือเป็นฮวงจุ้ยชั้นดีส�ำหรับฝังศพบรรพบุรุษที่เคลื่อน
ย้ายอพยพมาจากทางโคชินจีนหรือเวียดนามตอนใต้แถบ
เมืองในสามเหลี ย ่ มแม่น ำ �้ โขง เพราะเป็นเนินดินคล้ายภูเขา
ในด้านหลังและลาดลงสู่ชายคลองท่าช้าง จึงท�ำฮวงซุ้ย
ตามแนวตะพักนี ท ้ ง ั้ ในเขตค่ายตากสินและยาวไปตลอดริม
ล�ำคลองท่าช้างจนถึงแถบบ้านเรือน “ชาวบ้านท่าช้าง” ริม
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ
41