เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 40

เมืองจันทบูรเก่า มองจากอีกฝั่งน�้ำของแม่น�้ำจันทบูร ต้นน�้ำจันทบูรประกอบขึ้นจากล�ำน�้ำหลากหลาย สาย แต่ที่ส�ำคัญคือมาจากทางเทือกเขาสอยดาวฝั่งตะวัน ตกและภูเขาในเขตนั น ้ อีกหลายแห่ง ผู ค ้ นภายในที เ ่ ป็นกลุ ม ่ ชาติพ น ั ธุ พ ์ ด ู ภาษาในตระกูลมอญ-ขแมร์ เช่น กลุ ม ่ ชาวชอง ถือเป็นผู ด ้ ำ � รงชีว ต ิ และบุกเบิกการท�ำของป่าส่งส่วยแก่ร ฐ ั ท เข้ามาจัดการทรัพยากรแถบนี้ได้ตั้งแต่ครั้งโบราณ ที่อาจ จะไกลไปถึงช่วงก่อนประวัติศาสตร์ จนถึงการเข้ามาของ อารยธรรมทางศานาฮินดูและพุทธในเวลาต่อมา ชื่อเมือง “จันทบูร” นั้น น่าจะมีที่มาจากการเป็น พื้นที่ป่าเขาที่มีต้นไม้หอมอันเป็นต้นไม้เฉพาะถิ่นคือ “ต้น จันทน์” หรือ Sandal Wood ไม้จันทน์นี้น�ำไปใช้เป็นไม หอมส�ำหรับบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ในงานพระราชพิธีหลวงหรือ งานมงคลต่างๆ และน�ำมาสกัดเป็น “น�้ำมันจันทน์” น�้ำมัน หอมระเหยมูลค่าสูงและมีความต้องการมากมาโดยตลอด ส่วนค�ำว่า “บูร” นั้นหมายถึงความเป็น “เมือง” หรือ “ปุระ” [City or City State] ซึ่งอาจจะมีก�ำแพงค่าย คูประตูหอรบด้วยก็ได้ ในแถบภาคตะวันออก บ้านเมือง ที่เหลือร่องรอยคูคันดินของการเป็นเมืองแบบปุระนั้นม น้อยแห่ง และที เ ่ ป็นเมืองในสมัยอยุธยานั น ้ น่าจะพบที เ ่ มือง จันท์เพียงที่เดียว (ส่วนเมืองระยองที่บ้านค่ายนั้นร่องรอย 40 คู่มือ “เยี่ยมยามเมืองจันทบูร” เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ สูญหายไปแทบหมดแล้ว) บันทึกในสมัยอยุธยากล่าวถึงหัวเมืองทางแถบ ตะวันออกไม่มากนัก หากไม่เน้นเรื่องราวการสงครามใน ยุคสมัยต่างๆ นอกจากรัชกาลที่สมเด็จพระนเรศวรฯ ที่ม พระยาละแวกเข้ามาโจมตีทางทะเลและกวาดต้อนผู้คนไป ยังเขมรจนต้องมีการศึก ซึ่งก็ใช้ทั้งทัพบกและทัพเรือทาง ทะเลคราวหนึ ง ่ และเหตุการณ์ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ ที่นักบวชชาวฝรั่งเศสต้องเดิน ทางไปยังตังเกี๋ย อัน นัม และโคชิ น จี น บั น ทึ ก ข้ อ มู ล เรื่ อ งราวการเดิ น ทางของ บาทหลวงตาชาร์ดที่เรือล่มเมื่อไปขอความช่วยเหลือจาก เจ้าเมืองที่เมืองจันทบูร ก็พบว่าเจ้าเมืองนั้นเป็นชาวมุสลิม ส่วนจะเป็นชนชาติใดนั้นไม่ปรากฏ ซึ่งในเวลาเดียวกัน เจ้าเมืองที่เป็นจุดค้าขายและส่งสินค้าส�ำคัญที่มะริดและ ตะนาวศรีนั้นก็เป็นชาวมุสลิม เชื้อสายเปอร์เซีย ซึ่งม บทบาทต่อการค้าในราชส�ำนักสมเด็จพระนารายณ์ฯ มา ก่อนเจ้าพระยาวิชาเยนทร์และชาวฝรั่งเศส หลักฐานทางกายภาพที ป ่ รากฏบริเวณเหนือเมือง จันทบูรนั่นคือ การมีอยู่ของ “สุสานแขก” ตั้งอยู่ทางฝั่ง ตะวันออกของคลองท่าช้างที่ไม่ม ผ ี ใ ้ ู ดรับรู ถ ้ ง ึ ที ม ่ าของพื น ้ ท นี้ และไม่ ใช่กุโบร์ร่วมสมัยที่ชาวมุสลิมยุคหลังใช้กันแต