เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 39

แต่จากการพิจารณาโดยการส�ำรวจข้อมูลต่างๆ บริเวณนี้เป็นพื้นที่ลุ่มต�่ำ เต็มไปด้วยหนองบึง และน�้ำ ท่วมถึงในหน้าฝน เป็นน�้ำหลากท่วมราว ๓-๕ วัน อย่าง ลึกคือเหนือเข่าพอพายเรือได้ ใช้เป็นที ท ่ ำ � นาเรียกว่าต�ำบล ทุ่งหลังวัดจันทน์และต่อมาถูกปรับพื้นที่ส�ำหรับปลูกสวน ส้มเขียวหวานที่น�ำพันธ์ุมาจากคลองบางกอกน้อย อัน เป็นต้นทางของส้มแสงทองอันมีชื่อของเมืองจันทบุรี ใน เวลาต่อมา สวนแห่งนี้ขนาด ๙๐๐ ต้น ระยะปลูกห่างกัน ๕ เมตรทุกด้าน ดังนั้นจึงใช้พื้นที่ไม่ต�่ำกว่า ๓,๐๐๐ ไร ค� ำ นวนเวลาปลูก ส้มเหล่านี้ราวๆ ทศวรรษที่ ๒๔๕๐ (พระยาแพทยพงศาวิสุทธาธิบดี. ต�ำรายาไทยและการท�ำ สวนผลไม้. พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พระยาแพทยพงศาวิส ท ุ ธาธิบดี (สุ น ่ สุนทรเวช, ๙ ธันวาคม ๒๕๐๘) พื้นที่ซึ่งเป็นที่ลุ่มต�่ำขนาดนี้ ไม่เหมาะสมส�ำหรับ การตั้งเมืองหรือตั้งถิ่นฐานใดๆ ทั้งยังไม่พบร่องรอยของ โบราณวัตถุท ค ี่ วรจะมีส ำ � หรับการมีช ม ุ ชนโบราณในบริเวณ นี้ นอกเสียจากใช้พื้นที่ท�ำการเกษตรปลูกข้าวหรือสวน ส่วนบริเวณชุมชนที่ ในแผนที่เก่าระบุว่าคือ “บ้านเหนือ วัด” อยู่ติดกับ “เขาน้อย” แผนที่ชุดแรกของเมืองจันทบูร ที่ส�ำรวจในปลายรัชกาลที่ ๕ นั้นไม่ระบุชื่อ “บ้านหัววัง” แต่อย่างใด บริเวณเขาน้อยเป็นป้อมมีแนวก�ำแพงท�ำด้วย หินกองใหญ่ล อ ้ มรอบเจดีย อ ์ งค์ระฆังที ส ่ ร้างบนเนินเขาหิน ขนาดเล็กๆ และมีขอบและช่องทางขึ้นจากริมตลิ่งชายน�้ำ สู่ต�ำแหน่งเจดีย์เขาน้อย ปัจจุบันขอบแนวก�ำแพงป้อมที่ท�ำด้วยก้อนหิน จ�ำนวนมากนั้นอยู่ ในเขตสวนของชาวบ้านและได้ปรับ เปลี่ยนพื้นที่ท�ำเป็นโรงแรมริมน�้ำริเวอร์ลาวัลย์แล้ว ส่วน เจดีย์องค์ระฆังที่เขาน้อยได้รับการดูแลยังปรากฏอย เมืองจันทบูรเก่า “จันทบูร” เป็นค�ำดั้งเดิมที่พบในเอกสารเก่าและ ปรากฏในบัน ทึกของนักเดิน ทางชาวตะวันตกที่ ใช้การ เดินเรือเลียบชายฝั่งมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ผู้คนในท้องถิ่น ดั ง ้ เดิมเองก็เรียกพื น ้ ที เ ่ มืองบริเวณนี ว ้ า ่ จันทบูรด้วยเหมือน กัน จันทบูรถือเป็นเมืองท่าภายในที่ส่งสินค้าของป่า ชั้นดี เช่น หนังสัตว์และเขาสัตว์ ไม้ตะเคียน ไม้แดง ไม ยาง จ�ำพวกไม้หอม เช่น กฤษณา พืชสมุนไพรต่างๆ เช่น กระวาน และโดยเฉพาะพริกไทย ไปจนถึงไม้เนื อ ้ อ่อน เช่น ไม้ระก�ำป่า ดังนั น ้ ที ต ่ ง ั้ อยู ล ่ ก ึ เข้ามาภายในแผ่นดินค่อนข้าง ไกลจากปากน�้ำและสามารถเดินทางเข้าถึงต้นน�้ำที่ติดกับ เทือกเขาอันเป็นแหล่งทรัพยากรได้สะดวก มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 39