เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 38

โบราณวัตถุจ�ำนวนมากนั้นมาจากชุมชนเก่าที่รับ อิทธิพลวัฒนธรรมแบบเขมรก่อนเมืองพระนคร ตั้งอยู่ใน บริเวณที่ล�ำน�้ำสามารถติดต่อได้กับบ้านเมืองโพ้นทะเล และชายฝั่งอันเนื่องในวัฒนธรรมแบบเจนละ ไม่ว่าจะท อังกอร์เบอเรยใกล้พนมดา ถาลาบริว ต ั รที ส ่ ตรึงเตรง แม่น ำ �้ โขงใต้คอนพะเพ็ง สมโบร์ไพรกุกที่อีสานปุระอยู่ระหว่าง แม่น�้ำโขงและทะเลสาบ อันเป็นเขตพื้นที่เนื่องในกษัตริย อีสานวรมันตามจารึกที่พบซึ่งเป็นโอรสของพระเจ้าจิตร เสน-มเหนทรวรมัน กษัตริย์ผู้ปรากฏพระนามหลายแห่ง ในเขตอีสานทั้งบริเวณลุ่มน�้ำมูล ชุมชนชายขอบเทือกเขา พนมดงเร็ก และที่ส�ำคัญคือบริเวณลุ่มน�้ำโขง การที่ ไ ม่มีปุระหรือปราสาทหินส�ำคัญนอกเสีย จากจารึกและชิ้นส่วนสถาปัตยกรรมที่ถูกน�ำมาจากบ้าน เมืองที่สามารถติดต่อกับชุมชนชายฝั่งทะเล ที่มีวัตถุบาง ประการคล้ายกับส่วนประดับสถาปัตยกรรมแบบปราสาท จาม ท�ำให้เกิดข้อสันนิษฐานที อ ่ าจไม่พ อ ้ งกับการสันนิษฐาน ทั ว ่ ไปว่า ในช่วงเวลายุคเหล็กตอนปลาย (ราวพุทธศตวรรษ ที่ ๘-๑๐ ซึ่งพบมโหระทึกแถบชายฝั่งตะวันออก) และใน อีกหนึ่งถึงสองศตวรรษต่อมา บริเวณนี้มีการค้าทางทะเล โดยการน�ำของป่าจากเทือกเขาภายในเป็นสินค้าส่งออก ที่มีการควบคุมจากบ้านเมืองที่เป็นเมืองท่าชายฝั่งบริเวณ เชิงเขาสระบาป อาจจะเป็นผู้คนที่มีความช�ำนาญการเดิน เรือค้าขายทางทะเลเลียบชายฝั่ง เช่น ชาวจามจากชายฝั่ง ทะเลเวียดนาม ซึ ง ่ ถือเป็นกลุ ม ่ ผู เ ้ ชี ย ่ วชาญการค้าระยะทาง ไกลทางทะเลที ต ่ ด ิ ต่อกับบ้านเมืองทั ง ้ ภาคพื น ้ ภายในและหมู่ เกาะของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มาอย่างยาวนานตั ง ้ แต่ถ ก ู เรียกว่ากลุ่มวัฒนธรรมซ่าหวิงห์ และการน�ำสินค้าป่าออก สู่โลกภายนอก ชุมชนแถบเชิงเขาสระบาปและชุมชนที่อย ภายในป่าเขาจ�ำเป็นต้องพึ่งพากลุ่มคนเหล่านี้และเปลี่ยน ค้าขายเป็นคนกลางในเครือข่ายอันเป็นส่วนหนึ ง ่ ของระบบ การค้าทางทะเลที่มีมานานนับพันปีก่อนหน้านั้นแล้ว ส่วนที่มีข้อมูลอ้างอิงต่อมาว่ามีเมืองเก่าอีกฝั่งน�้ำ ของแม่น ำ �้ จันทบูรที เ ่ รียกกันว่า “บ้านหัววัง” ต�ำบลจันทนิม ต ิ นั้น สอบค้นพบว่าเริ่มมาจากเอกสารเรื่อง “ประวัติเมือง จันทบุรี” ของโชติ ผุดผ่อง ส�ำรวจตั้งแต่ครั้ง พ.ศ. ๒๕๒๓ ในสังกัดวิทยาลัยครูจันทบุรี และมีการศึกษาต่อเนื่องจาก ท่านอื่นๆ ว่ามีการพบแนวคูน�้ำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหลายแนว ในบริเวณดังกล่าว จารึกจันทบูร พระเจ้าศรีอีศานวรมันที่ ๑ (พ.ศ. ๑๑๕๘-๑๑๗๘) และทรงรับสั่งให้น�ำมาประดิษฐาน ณ เทวสถานใดเทวสถานหนึ่ง เนื้อความโดยส่วนใหญ่ เป็นรายชื่อของทาสจ�ำนวนมาก และ โค- กระบือ ที่พระองค์ทรงอุทิศถวายไว้ให้แก่เทวสถานนั้น น่าสังเกต ว่าการจารึกนั้นท�ำลงบนแท่นฐานเทวรูปหรือไม 38 คู่มือ “เยี่ยมยามเมืองจันทบูร” เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ