เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 37
ทับหลังแบบไพรกเมงและถาลา
บริวัตร ที่พิพิธภัณฑ์ของวัดทองทั่ว
อายุราวๆ พุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๓
ชิ้นส่วนประดับปราสาทแบบจาม ท�ำจากหินทราย
พบโบราณวัตถุหลายยุคสมัย เช่น ชิ้นส่วน เศียร
พระหริหระแบบพนมดา อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑ ทับ
หลังแบบถาลาบริว ต ั ร อายุในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ จารึก
ในพุทธศตวรรษที่ ๑๒ ที่กล่าวถึงชื่อ กษัตริย์อีศานวรมัน
ที ม ่ ถ ี น ิ่ ฐานบ้านเมืองอยู่ในแถบที ร ่ าบสูงซึ ง ่ ต่อกับแนวเทือก
เขาพนมดงเร็กและทางลุ่มน�้ำโขงของลาวใต้และกัมพูชา
ตอนเหนือ ซึ่งพบอยู่หลายชิ้นแยกกันอยู่กระจัดกระจาย
แต่น่าจะมาจากชิ้นเดียวกัน คือ จารึกวัดทองทั่ว จารึกสระ
บาป จารึกขลุง และบางชิ น ้ ที พ ่ บในตึกฝรั ง ่ เศส ค่ายตากสิน
และเป็นที น ่ า ่ สังเกตว่า จารอักษรลงบนแท่นที เ ่ คยใช้ท ำ � เป็น
ฐานเทวรูปมาก่อน รวมทั้งพบจารึกในราวพุทธศตวรรษท
๑๕ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่พบโบราณวัตถุในศิลปะแบบเขมร
ส่วนใหญ่ในภูมิภาคอีสานของไทยที่เรียกว่า แบบบาปวน
ชิ้นส่วนเครื่องประดับอาคารแบบปราสาทจามใกล้ชายฝั่ง
เวียดนามตอนกลางท�ำจากหินทรายที่น่าจะมีอายุราวพุทธ
ศตวรรษที่ ๑๕-๑๖ หรือเก่ากว่านั้น
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ
37