เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 36

วันที่ ๒ "จันทบูร เมืองท่าภายใน" เพนียดและวัดทองทั่ว เมืองท่าภายในเชิงเขาสระบาป จากหลักฐานทางโบราณคดีโดยสรุปกล่าวได้ว่า การตั้งถิ่นฐานบริเวณหัวเมืองชายฝั่งทะเลตะวันออกล้วน สัมพันธ์ก บ ั เส้นทางการค้าทั ง ้ ภายในแผ่นดินออกสู เ ่ ส้นทาง เดินเรือเลียบชายฝั่ง เพื่อติดต่อสัมพันธ์กับบ้านเมืองใน ท้องถิ่นอื่นๆ และการติดต่อกับบ้านเมืองโพ้นทะเล เริ่มต้น ตั ง ้ แต่สมัยก่อนประวัต ศ ิ าสตร์ตอนปลายที ม ่ ก ี ารพบชิ น ้ ส่วน กลองมโหระทึกร่วมกับเครื อ ่ งมือเหล็กและส�ำริดแถบคลอง กระแจะซึ่งเป็นชุมชนภายในอยู่บริเวณสาขาของล�ำน�้ำ ตราด ก�ำหนดอายุได้แบบกว้างๆ ในราว ๒,๒๐๐-๑,๘๐๐ ปีมาแล้ว ส่วนชุมชนก่อนหน้านั้นก็พบอยู่ประปรายตาม บริเวณพื้นที่ติดต่อกับเทือกเขาภูเขาทั้งที่อยู่ใกล้และไกล ชายฝั่งทะเลแถบเขาแก้วและเขาบายศรี ในอ�ำเภอท่าใหม และไกลเข้าไปในเขตเทือกเขาที่อ�ำเภอเขาชะเมา จังหวัด ระยอง และอ�ำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี ซึ่งอยู่ใน ช่วงยุคหินและยุคส�ำริด 36 คู่มือ “เยี่ยมยามเมืองจันทบูร” เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ ส่วนโบราณสถานที่ ใกล้เชิงเขาสระบาปซึ่งมีร่อง รอยของบ้านเมืองรับอิทธิพลวัฒนธรรมแบบจามและเขมร ตั ง ้ แต่ย ค ุ เริ ม ่ แรก ต่อมาเรียกกันว่า “เมืองเพนียด” ชาวบ้าน ส่วนหนึ่งเรียกว่า “เมืองกาไว” ตามต�ำนานที่มีอิทธิพล ความเชื อ ่ แบบกลุ ม ่ ชาวชองพบว่ามีการท�ำสระน� ำ ้ ยกสูงหรือ บารายรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ๒ ด้านเชื่อมต่อกันสร้างจาก หินแลงซึ่งเป็นชั้นดินที่พบทั่วไปแถบภูมิภาคนี้ และมีการ สร้างแนวคันดินรูปมุมฉากส�ำหรับเป็นแนวบังคับน�้ำที่ ไหล หลากมาจากคลองนารายณ์ ซึ่งมีต้นน�้ำที่ถือว่าเป็นภูเขา และล�ำน�้ำศักดิ์สิทธิ์ของเมืองเก่าเชิงเขาสระบาปแห่งน อาณาบริเวณของการท�ำระบบการจัดการน�้ำและโบราณ วัตถุท ก ี่ ระจัดกระจายเชื อ ่ กันว่าเป็นพื น ้ ที่ไม่ต ำ �่ กว่า ๑,๖๐๐ ไร่ โบราณวัตถุท เ ี่ ป็นรูปแบบทับหลังบ้าง ประติมากรรมบ้าง ฐานเทวรูปบ้าง ถูกน�ำไปไว้ตามวัดต่างๆ ทั ง ้ ในเมืองจันทบูร และชุมชนใหญ่ๆ หลายแห่ง ที่มีร่องรอยว่าเป็นชุมชนมา ตั้งแต่สมัยอยุธยา