เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 32
ตึกแดงและคุกขี้ไก
ในเอกสารเรื่อง “เมืองจัน ทบุรี” ของพระยา
มหาอ�ำมาตยาธิบดี (เส็ง วิริยะศิริ) บันทึกว่ามีสิ่งปลูก
สร้าง “ตึกแดงที่ปากน�้ำแหลมสิงห์กับที่คุมขังทหารหลัง
หนึ่ง” เหตุที่เรียกว่าตึกแดงเพราะตัวตึกและกระเบื้องมุง
หลังทาสีค่อนข้างแดง สถานที่ตึกหลังนี้ ใช้เป็นที่พักของ
ผู้บังคับกองทหารที่ประจ�ำอยู่ที่ปากน�้ำ เมื่อฝรั่งเศสมอบ
เมืองจันทบุรีคืนใน พ.ศ. ๒๔๔๗ และราชการสยามรักษา
ไว้ส�ำหรับเป็นที่พักอาศัยของเจ้านาย ข้าราชการ และชาว
ต่างประเทศซึ่งไปเที่ยวเตร่ตากอากาศเป็นครั้งคราว และ
รัฐบาลไทยก็ยินยอมให้พวกคณะทูตและชนชาวฝรั่งเศสที
จะไปเที ย ่ วเตร่ไปมาเป็นครั ง ้ คราวพักตากอากาศด้วย จึงใช
เป็นสถานที ส ่ ำ � หรับพักตากอากาศหรือที ท ่ า ่ นเรียกว่า “แซน
ตอเลียม” [Sanitarium] จนถึงเมื่อบันทึกชิ้นนั้นแล้ว (ราว
พ.ศ. ๒๔๙๖)
ที่คุมขังทหารจากเอกสารนี้ก็น่าจะเป็น “คุก” แต
32
คู่มือ “เยี่ยมยามเมืองจันทบูร”
เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ
ไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อกักขังนักโทษชาวไทยที่ ได้ต่อต้านชาว
ฝรั่งเศสตามที่บันทึกฝ่ายไทยเล่าลืออย่างแน่นอน เอกสาร
ชุดต่างๆ ที บ ่ น ั ทึกไว้น น ั้ ก็ไม่ม เ ี รื อ ่ งเกี ย ่ วกับการข่มเหงรังแก
ทั ง ้ ทหารหรือพลเมืองสยามโดยวิธ ก ี ารขังคุกแต่อย่างใด ซึ ง ่
รูปทรงดูแล้วเหมาะจะเป็นป้อมปืนไปด้วยกัน เพราะมีช่อง
เป็นรูปสี เ ่ หลี ย ่ มผืนผ้ายาวๆ ส�ำหรับส่องกระบอกปืนออกมา
ด้านนอกแคบด้านในกว้างเพียงพอส�ำหรับวางฐานกระบอก
ปืน น่าจะเป็นอาคารสองชั้นที่ชั้นบนสูงพอควรและชั้นล่าง
จะไว้ท�ำโทษคุมขังทหารของฝ่ายฝรั่งเศสคงไม่แปลก
หลวงสาครคชเขตต์บันทึกไว้ว่า ครั้งฝรั่งเศสยึด
เมืองจันทบุร ร ี ะหว่าง พ.ศ. ๒๔๓๖ (ร.ศ. ๑๑๒)-พ.ศ. ๒๔๔๗
กองทหารฝรั ง ่ เศสตั ง ้ ขึ น ้ ที เ ่ มืองจันทบุร แ ี ละที ป ่ ากน� ำ ้ แหลม
สิงห์ เป็นด่านยามรักษาการณ์ข น ึ้ ที่ “หัวแหลมตึกแดง” แห่ง
หนึ่ง มีหน้าที่ตรวจบรรดาเรือเมล์หรือเรือใบที่จะผ่านเข้า
ออก ซึ่งต้องเปิดแตรสัญญาณให้กองทหารได้ยินและลด
ความเร็วแวะรับให้พวกทหารเรือล่ามของเขาขึ้นมาตรวจ
กัปตันเรือต้องยื น ่ บัญชีส น ิ ค้าและจ�ำนวนคนให้ทราบทุกครั ง ้