เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 33
คุกขี้ไก่ น่าจะเป็นป้อมปืนมาแต่เดิม โดย
สังเกตจากช่องวางปืนด้านใน และน่าจะเคยใช
ขังทหารฝรั่งเศสหรือทหารญวน ที่ไม่เคยใช้ขัง
คนสยามแต่อย่างใด
กลุ่มวัดตะปอนน้อย / วัดทางเกวียน เมืองขลุง
การเดินทางจากเมืองขลุงมีเส้นทางเกวียนผ่าและ
เกวียนหัก คานรูด ตะปอนใหญ่ ตะปอนน้อยไปตามทุ ง ่ น�ำ
เกวียนไปจอดไว้หลังวัดไผ่ล อ ้ มแล้วข้ามเรือจ้างทางฝั ง ่ ตะวัน
ตกขายหรือซื้อของกลับที่เดิม มีต�ำบลพลิ้วเป็นศูนย์กลาง
การค้าขายกับพื้นที่ ใกล้เคียง ซึ่งตั้งขึ้นจากหมู่บ้านคลอง
ยายด�ำ หากจะเดินทางเรือจากคลองยายด�ำไปออกแม่น ำ �้
จันทบุร แ ี ล้วต่อไปยังตัวจังหวัด หรือนั ง ่ เรือที บ ่ า ้ นคลองยาย
ด�ำไปขึ้นที่ท่าแฉลบแล้วโดยสารรถยนต์ต่อไป มีเส้นทาง
เดินรถประจ�ำทางตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๖๗ คือตลาดพลิ้ว-ขลุง
และตลาดพลิ้ว-คลองยายด�ำ ต่อมาก็มีถนนสุขุมวิทในช่วง
ราว พ.ศ. ๒๔๙๑ เป็นต้นมา
ชุมชนแถบนี เ ้ คยมีพ น ื้ ที ท ่ ำ � นาที่ใช้บริโภคในท้องถิ น ่
ได้ วิถีชีวิตก็เป็นแบบชาวบ้านในสังคมชาวนา แถบนี้มีการ
เล่าถึงประเพณีตรุษไทยท�ำบุญกันสองวันคือวันแรม ๑๕
ค�่ำ เดือน ๔ กับวันขึ้น ๑ ค�่ำ เดือน ๕ จะมีการขนทราย
ที่เรียกว่า ตะกาด ซึ่งเป็นเศษเปลือกหอยละเอียดปนกับ
ทรายใส่เกวียนเข้าไปยังลานพระอุโบสถ เพื่อก่อพระเจดีย
ทราย พร้อมเจดีย บ ์ ริวารเล็กๆ รอบเจดีย ใ ์ หญ่ ประดับด้วย
ดอกไม้หลากส
ที่วัดตะปอนน้อยมีงาน “ยุคพระบาท” หรือ “ฉุด
พระบาท” ช่วงหลังสงกรานต์ราว ๑ เดือน รอยพระบาท
เขียนลงบนแผ่นผ้าขาวขนาดใหญ่ม ว ้ นแล้วยาวตลอดเกวียน
วางพระบาทผูกติดภายในเกวียน ใช้เชือกผูกให้แน่น ชาว
หมู บ ่ า ้ นใกล้เคียง เจ้าของคือ ตะปอนน้อย บ้านป่าคั น ่ พลิ ว ้
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ
33