เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 30

ภาพวาดเรือส�ำเภาสามเสาย่านชายฝั่งทะเลจันทบูร ภาพจากแวริงตัน สมิธ (ห้าปีในสยาม) แหลมสิงห์ ปากน�้ำจันทบูร ปากน�้ำจันทบูรหรือที่มักเรียกว่า “ปากน�้ำแหลม สิงห์” เนื่องจากทางฝั่งปลายแหลมด้านตะวันตกที่ติดกับ ทะเล มีก อ ้ นหินใหญ่ ๒ ก้อน มองจากทะเลจะดูคล้ายสิงโต ยืนคู่ เป็นที่นับถือบูชาของชาวประมงท้องถิ่น จึงเรียกกัน ว่าแหลมสิงห์ เล่ากันเป็นสองกระแสว่า เมื่อก่อนสิงห์คู่น ไม่มี แต่บนเขามีสิงโตจริงๆ ตัวผู้และตัวเมียอยู่คู่หนึ่ง ไป ไหนมาไหนด้วยกันเสมอ ลงอาบน� ำ ้ ทะเลด้วยกัน ต่อมาพวก ฝรั ง ่ ลอบท�ำร้ายโดยใช้ระเบิดยิงถูกสิงห์ต ว ั หนึ ง ่ ถึงแก่ความ ตาย อีกตัวหนึ ง ่ จึงวิ ง ่ ลงทะเลทันที พอตายแล้วจึงกลายเป็น สิงห์ยืนอยู่ริมทะเล ส่วนตัวที่ตายเหลือแต่เพียงซากหินที่ม เค้าว่าเคยเป็นสิงห์อยู บ ่ า ้ ง แต่เรื อ ่ งเล่าส่วนใหญ่จะกล่าวว่า สมัยที ฝ ่ รั ง ่ เศสเข้ายึดครองจังหวัดจันทบุรี ใช้ก อ ้ นหินนี เ ้ ป็น เป้าทดลองปืน ท�ำให้ตัวหนึ่งแตกสลายไปส่วนอีกตัวหัวตก น�้ำไป จึงเหลือเพียงรูปแบบในปัจจุบันที่ดูแค่คล้ายสิงห 30 คู่มือ “เยี่ยมยามเมืองจันทบูร” เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ เจ้าพระยาพระคลังเจ้าพระยามหาประยูรวงศ เป็นแม่กองสร้างเมืองจันทบุร ท ี เ ี่ นินวง จมื น ่ ราชามาตย์ (ข�ำ บุนนาค) ท�ำป้อมที่แหลมด่านป้องกันปากน�้ำ ๑ ป้อม ชื่อ “ป้อมภัยพินาศ” ที่เขาแหลมสิงห์ป้อมเก่ามีอยู่แล้วจึงท�ำ ป้อมใหม่ ๑ ป้อม ชื่อ “ป้อมพิฆาตปัจจามิตร” และทางฝั่ง นี้ในเวลาต่อมาเคยเป็นที่ตั้งของสุสานทหารฝรั่งเศสที่เสีย ชีวิตที่กองทหารปากน�้ำด้วย เหตุการณ์ปิดปากน�้ำเจ้าพระยาของกองเรือรบ ฝรั่งเศสเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ รู้จักกันในเหตุการณ “วิกฤตการณ์ปากน� ำ ้ ” การปะทะเกิดขึ น ้ ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๖ เมื อ ่ เรือรบฝรั ง ่ เศสแล่นฝ่าเข้าไปในปากแม่น ำ �้ เจ้าพระยา ทั้ง ๓ ล�ำถูกโจมตีโดยป้อมปืนของสยามและ เรือปืน ผลการรบ ฝรั่งเศสสามารถด�ำเนินการปิดล้อม กรุงเทพฯ มีการเจรจาระหว่างกันซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดของ เหตุการณ์ฝรั่งเศสเพื่อเข้ามายึดครองดินแดนในแถบภาค ตะวันออก