เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 29
ท�ำเตามังกรเป็นต้นแบบที่ผลิตกันที่กรุงเทพฯ แถบคลอง
ผดุงกรุงเกษมและแถบสามเสน จนถูกน�ำไปผลิตที่ริมน�้ำ
แม่กลองราชบุรี ในช่วงหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองไป
แล้ว และช่างปั้นโอ่งมังกรจากจันทบุรีก็กลายเป็นช่างชุด
เดียวกับที่ราชบุรีด้วย
กลุ่มจีนแคะนอกจาก “แปะสุน แซ่โค้ว” แล้ว
ยังมี “นายเปี้ยง แซ่ตัน” ประเมินอย่างคร่าวๆ ได้ว่า น่า
จะท�ำอาชีพปั้นโอ่ง อ่าง ไห ฯลฯ ขายที่ “บ้านเตาหม้อ”
มาตั้งแต่ราว พ.ศ. ๒๔๒๐ หรืออาจจะมีการตั้งชุมชน
ปั้นเครื่องปั้นดินเผาขึ้นไปจนถึงยุคที่ชาวคริสต์ญวน-จีน
ที่ถูกผลักไสออกจากเวียดนามราว ๓๐ ปีก่อนหน้านั้น
ทีเดียว “หมู่บ้านเตาหม้อ” กลายเป็นชุมชนชาวจีนที่ท�ำ
เครื อ ่ งปั น ้ ดินเผาอยู ก ่ น ั เป็นจ�ำนวนมากในเวลานั น ้ จนถึงกับ
เคยเรียกกันว่า “เมืองจีนน้อย” และเป็นช่วงเวลาใกล้เคียง
กับการก่อร่างชุมชนชาวคริสต์ที่เมืองขลุง
บ้านเตาหม้อช่วงนั้นมีโรงงานใหญ่ดั้งเดิมอยู่ถึง
๖ โรง ต่อมาลูกหลานเครือญาติท�ำกลุ่มโรงงานเจริญชัย
ดินเผาและชูชัยดินทอง ที่ท�ำกระเบื้องดินเผา โอ่งเคลือบ
รุ ่ น แรกของโรงงานนี้ เ ป็ น รู ป ปู มี ชื่ อ ก� ำ กั บ ว่ า “อั น ฮวด
เส็ง” ฯลฯ กลุ่มจีนแคะส่วนใหญ่นับถือคริสต์ศาสนานิกาย
โรมันคาทอลิก ต่างจากกลุ่มจีนแต้จิ๋วที่เข้ามาท�ำอาชีพปั้น
โอ่งในระยะหลังซึ่งปรับมานับถือพุทธศาสนาแบบเดียวกับ
คนไทยทั่วไป
“เตามังกร” รูปแบบเก่าแก่ย้อนไปถึงราชวงศ์จิ๋น
(ราวพุทธศตวรรษที่ ๔) และใช้กันมากในกลุ่มเตาทาง
ตอนใต้ของจีนแถบกวางตุ ง ้ ซึ ง ่ มักจะมีเนินเขาที จ ่ ะเลื อ ้ ยลง
มาตามเนินเขาเพื อ ่ ช่วยให้อ ณ
หภูม ส ิ ง ู ขึ น ้ และควบคุมความ
ร้อนได้ดี ถือว่าเป็นอัตลักษณ์ของเตาภาคใต้ของจีนเพิ่ม
อุณหภูม ไ ิ ด้ส ง ู กว่า ๑,๒๐๐ องศาเซลเซียส เผาได้ถ ง ึ ขั น ้ เนื อ ้
กระเบื้องหรือพอซเลน เตาเก่าที่สุดที่ยังเหลืออยู่คือตั้งแต
ราชวงศ์หมิงอายุกว่า ๓๕๐ ปี เตามังกรรุ่นแรกๆ ของบ้าน
เตาหม้อซึ่งพังไปแล้ว เลื้อยจากเนินเขาจรดล�ำน�้ำล�ำพันไม
น่าต�่ำกว่า ๓๐ เมตร ส่วนเตาปัจจุบันนี้วางตัวเรียบๆ สั้นๆ
น่าจะถึง ๒๐ เมตร Seggers หรือที่เรียกว่า “กี๋” ท่อ แต
ภาพวาดโครงสร้างเตามังกรที่ “หลงฉวน” จีนตอนใต
เจ้าของเตาจีนเชื้อสายแคะเรียกสืบต่อมาว่า “จ๊อยแหน่”
ส่วนแผ่นรองเรียก “โฉ้ว”
ส่วน “เตาประทุน” หรือ Cross draft kiln ซึ่งม
เทคนิคและรูปแบบแตกต่างไปพบในแหล่งเตาโบราณใน
ประเทศไทยทั ว ่ ไปนั น ้ ก็ร บ ั เทคโนโลยีมาจากเมืองจีนเช่นกัน
ปัจจุบันโรงงาน “เจริญชัยดินเผา” ยังคงมี “เตา
มังกร” ที่ยังใช้งานอยู่และก�ำลังจะปิดตัวยุติการผลิตอย่าง
ถาวรซึ่งคนจันทบุรีอาจไม่รู้ว่ามีของดีอยู่ และเตามังกรใน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้น น ั้ เป็นโบราณสถานส�ำคัญที ก ่ ำ � ลัง
สูญหายไปเสียหมด ในประเทศสิงคโปร์ที่เหลือเพียงแห่ง
เดียวก็กลายเป็นโบราณสถานส�ำคัญของชาติทีเดียว
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ
29