เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 28
คนจีนแคะกลุ่มแรกๆ ที่เข้ามาอยู่อาศัยในพื้นท
บ้านเตาหม้อน่าจะมีอาชีพปั้นหม้อ กระถาง โอ่งใส่น�้ำ เป็น
หลัก จากข้อมูลสัมภาษณ์ในงานวิจ ย ั ของ “ภรดี พันธภากร”
เรื อ ่ ง “การศึกษาเทคโนโลยีเครื อ ่ งปั น ้ ดินเผาแหล่งจันทบุร ” ี
กล่าวถึงช่างปั น ้ ชาวจีนแคะชื อ ่ “แปะสุน แซ่โค้ว” เป็นคนใน
พื น ้ ที บ ่ า ้ นเตาหม้อ ปั น ้ โอ่งเคลือบด้วยน� ำ ้ ขี เ ้ ถ้าและน� ำ ้ ดินเลน
ท�ำอยู่ราว ๓๐ ปี จนอายุมากขึ้นและอาจจะอยากพัฒนา
เทคนิคการปั น ้ และเผาโอ่งน� ำ ้ เคลือบที ด ่ จ ู ะได้ร บ ั ความนิยม
ใช้กันมากในท้องถิ่น จึงพยายามหาช่างฝีมือมารับช่วงท�ำ
ต่อ เวลานั น ้ คนจีนแคะมักไปรวมตัวพูดคุยถามข่าวให้ความ
ช่วยเหลือเครือญาติท ่ ี เป็นชาวจีนแคะด้วยกันที่ “ร้านขาย
ยาจังกวงอัน” ริมน�้ำจันทบุรี จนต่อมา “นายก้วน แซ่ตั้ง”
หรือที เ ่ รียกันว่า “เจ๊กฝั น ้ ” ช่างปั น ้ จีนแต้จ ว ิ๋ จากต�ำบลปังโคย
เมืองแต้จิ๋ว มณฑลกวางตุ้ง [ปังโคยมีชื่อเสียงในการท�ำ
เครื่องดินเผาและเครื่องกระเบื้องมาแต่สมัยโบราณจนถึง
ปัจจุบ น ั ] เดินทางด้วยเรือโดยสารมาลงที ท ่ า ่ แฉลบในปี พ.ศ.
๒๔๕๒ อยู่กับแปะสุนเพียง ๔ เดือนก็รวบรวมเงินเดินทาง
ไปรับภรรยาและญาติพ น ี่ อ ้ งที เ ่ มืองจีนมาอยู ด ่ ว ้ ยกันและเริ ม ่
ภายในเตามังกรขนาดใหญ่ที่บ้านเตาหม้อ ของโรงงานเจริญชัยดินเผา สามารถเผาในอุณหภูมิสูงราว ๑,๑๐๐-๑,๒๐๐ องศาเซลเซียส
จนได้เครื่องดินเผาเนื้อแกร่ง [Stonware] ใช้รูปแบบเตาแบบเดียวกับเตาเผาที่เมืองจีนและใช้มาแต่เดิมแล้ว ขนาดราว ๔๐-๖๐ เมตร ม
ช่องใส่ไฟ ๔๐-๖๐ ช่อง มีประตูทางเข้าส�ำหรับใส่เครื่องปั้นดินเผา ๔ ช่องประตู ด้านหน้าเป็นห้องส�ำหรับใส่ฟืน ด้านในใส่ภาชนะที่จะ
ร” การเผารอบหนึ่งรวมการน�ำเข้ารอให้เย็นและน�ำออกราว ๕ วัน
28 คู่มือ “เยี่ยมยามเมืองจันทบู เผา
เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ