เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 27

ถึงตราด ส่วนใหญ่คนจีนดั ง ้ เดิมแถบนี เ ้ ป็นจีนแคะคริสต์เตียน ต่อมาจึงสร้างโบสถ์ของ “วัดนักบุญยอแซฟกรรมกร ท่าศาลา” ซึ่งคนภายนอกมักเรียกว่า “วัดญวน เตาหม้อ” ซึ่งเป็นความเข้าใจผิดมาแต่เดิม เพราะพื้นที่นี้ไม่มีคนญวน คงมีแต่คนเชื้อ สายจีนแคะและแต้จิ๋ว บริเวณวัดยังมีฮวงซุ้ยที่ฝังศพรวมของชาวคริสต์ด้านหลังซึ่งเป็นที่ฝังศพส�ำหรับคนในชุมชนท่าศาลา และเตาหม้อ รวมไปถึงคนคริสต์ที่แหลมประดู่ ฝั่งตรงข้ามกับท่าแฉลบ ซึ่งเป็นคนจีนเชื้อสายฮกเกี้ยนแถบนั้นก็นิยมมาฝัง ศพในชัยภูมิท้องมังกรนี้ด้วย เป็นที่ทราบกันว่าเมืองท่าชายฝั่งทะเลและภายในสามเหลี่ยมแม่น�้ำโขงที่ส�ำคัญๆ หลายแห่ง เช่น เมืองก�ำปอต เมืองบันทายมาศ เมืองสักซ้า [ Rạch Giá ] เมืองจ่าเวิญ [ Trà Vinh ] ไปจนถึงไซ่งอนนั้นมีคนจีนเข้ามาตั้งหลักแหล่งเป็นจ�ำนวน ไม่น อ ้ ยมาตั ง ้ แต่ราวต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๓ จนเมืองบางแห่งเช่นเมืองเปียมหรือที เ ่ รียกกันต่อมาว่าเมืองฮ่าเตียนที อ ่ ยู ป ่ ากน� ำ ้ เมืองบันทายมาศก็มีผู้ปกครองในฐานะ “รัฐอิสระ” เป็นชาวจีนจากมณฑลกวางตุ้งจนกระทั่งถึงรัชกาลสมเด็จพระเจ้าตา กสินฯ จึงเปลี่ยนแปลงหลังจากการปราบกบฎไต้เซินแล้วและราชวงศ์เหวงียนขึ้นปกครองและคงมีชาวจีนจ�ำนวนไม่น้อยใน พื น ้ ที ส ่ ามเหลี ย ่ มปากแม่น ำ �้ โขงที เ ่ ข้ารีตนับถือศาสนาคริสต์และอพยพเข้ามาสู ห ่ ว ั เมืองชายหลายแห่งในสยามช่วงรัชกาลที่ ๓ โบถส์ “วัดญวนเตาหม้อ” หรือ “วัดนักบุญยอแซฟกรรมกร ท่าศาลา” ซึ่งไม่มีคนญวนอยู่ที่นี่ นอกจากชาวจีนแคะ สุสานวัดญวน เตาหม้อ ซึ่งเป็นที่ฝังศพของชาวคริสต์เชื้อสายจีน ทั้งจากในชุมชนเตาหม้อและชุมชนแหลมประด มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 27