เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 26
เขาคิชฌกูฏ
แผนที่แสดงต�ำแหน่งบ้านเตาหม้อ ต�ำบลร�ำพัน อ�ำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี ซึ่งตั้งอยู่ริมล�ำน�้ำร�ำพัน
สาขาหนึ่งของแม่น�้ำวังโตนด ขนานไปกับแนวเทือกเขา ซึ่งคนเชื้อสายจีนถือว่าเป็นท�ำเลดีที่สุดในการตั้งถิ่นฐาน
“เตามังกร” (Dragon Kiln) บ้านเตาหม้อ บ้านท่าศาลา
ต�ำบลล�ำพัน
จากปากน�้ำประแสข้ามล�ำน�้ำพังราดและล�ำน�้ำ
กระแจะที่มีชุมชนอยู่รายทางเป็นระยะ ระนาบนี้เป็นการ
เดินทางเลียบชายฝั่งตามเส้นทางเกวียน ซึ่งมักจะมีการ
สร้างศาลาเป็นระยะๆ ส�ำหรับการติดต่อระหว่างชุมชน
แบบเก่าก่อนที่จะสร้างและซ่อมถนนสุขุมวิทช่วงนี้ ในราว
ทศวรรษที่ ๒๔๙๐ การเดินทางในช่วงก่อน พ.ศ. ๒๕๐๐
ระหว่างหัวเมืองทางตะวันออกนั น ้ ยังคงใช้การเดินเรือทะเล
เลียบชายฝั่งทั้งการขนส่งสินค้าและผู้คน
“คลองล�ำพัน” คือสาขาของล�ำน�้ำวังโตนดฝั่ง
ตะวันตกที่มีปากน�้ำเรียกว่า “ปากน�้ำเข็มหนู” หรือ “แขม
หนู” ที่อยู่ติดแนวเทือกเขายาวจากชายหาดเจ้าหลาว ตรง
26
คู่มือ “เยี่ยมยามเมืองจันทบูร”
เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ
เกาะช่องสะบ้าขึ้นไปทางเหนือที่เรียกว่า “เขาท่าศาลา”
บริเวณนี้มีช่องเขาซึ่งเป็นช่องทางติดต่อโดยธรรมชาติจาก
ทุ ง ่ สนามไชยที ม ่ ท ี างเกวียนติดต่อมาจากทางเมืองแกลงเดิน
ทางเข้าสู่อาณาบริเวณเมืองจันทบุรี ผ่านไปยังคลองโขง
และวัดโขมงสู่ท่าใหม่และเมืองจันทบุรีโดยทางบก ซึ่งเป็น
เส้นทางสันนิษฐานเส้นทางเดินทัพสู่เมืองจันท์ของสมเด็จ
พระเจ้าตากสินฯ รวมทั้งเป็นเส้นทางที่ชาวบ้านท้องถิ่นใช
และเล่าสืบต่อมาเช่นกัน
ระหว่างคลองล�ำพันและเชิงเขาท่าศาลา ชาว
จีนโพ้นทะเลถือว่าเป็นฮวงจุ้ยท้องมังกร จึงย้ายเข้ามา
ตั้งถิ่นฐานเป็นจ�ำนวนมากทั้งมีบ่อน�้ำจืดใหญ่ พื้นที่อุดม
สมบูรณ์ เกิดเป็นตลาดท่าศาลาและโรงงานอุตสาหกรรม
ผลิตภาชนะดินเผาทั ง ้ เนื อ ้ ดินและเนื อ ้ แกร่ง เช่น ไหและโอ่ง
เคลือบที่ส่งขายไปทั่วชุมชนชายฝั่งตะวันออกตั้งแต่ระยอง