เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 13

ในเวลานั้นน่าจะมีทัพพม่าตั้งควบคุมอยู่ที่ปากน�้ำทุกแห่ง ซึ่งถือเป็นเรื่องทางยุทธศาสตร์ส�ำคัญ เนื้อหาในพระราช พงศาวดารก็กล่าวผ่านๆ ว่าไปที่บ้านนาเกลือ การใช เส้นทางตามในพระราชพงศาวดารในเส้นทางนี้ทั้งเสี่ยง อันตรายจากทัพพม่า ทั้งเลียบชายฝั่งทะเลที่ชุมชนเบาบาง และชาวบ้านไม่น ย ิ มใช้เส้นทางบกทั ง ้ ระยะทางไกลกว่าเส้น ทางที่นิยมใช้เดินทางกันภายใน แต่พระราชพงศาวดารตอนต่อมากลับมาให้ความ ส�ำคัญแก่ “เมืองบางปลาสร้อย” ตลอดช่วงเวลา ๗ เดือน ของการท�ำศึกก่อนกลับไปกู้บ้านเมืองอย่างมาก เพราะ “นายทองอยู่ นกเล็ก” ที่คบคิดกับกรมการเมืองระยอง เข้าต้านกองก�ำลังของพระยาตากแล้วหนีไปตั ง ้ มั น ่ อยู เ ่ มือง ชลบุรี พระยาตากจึงยกกองทหารจากเมืองระยองไปปราบ นายทองอยู่ นกเล็ก แต่ไม่ส�ำเร็จจึงท�ำไมตรีตั้งให้เป็นเจ้า เมืองชลบุรีที่ “พระยาอนุราชบุรีศรีมหาสมุท” ซึ่งเป็นช่วง เวลาห่างจากเริ่มเดินทัพราว ๔ เดือนให้หลัง กองก�ำลัง พม่าที่เฝ้าอยู่ ณ ปากน�้ำหรือจุดยุทธศาสตร์ต่างๆ คงเริ่ม ถอนก�ำลังออกไป “จนพระยาตากสามารถขี ช ่ า ้ งเลียบเมือง บางปลาสร้อย พ�ำนักยังเก๋งจีน และสถาปนานายทองอยู นกเล็กเป็นเจ้าเมืองชลบุรีได้” แต่นายทองอยู่ นกเล็กยัง ก่อความเดือดร้อนจนต้องปราบจับประหารในช่วงที่น�ำทัพ เรือกลับไปกู้กรุงศรีอยุธยา การที ท ่ พ ั พระยาตากจะเดินทางผ่านไปยังบางปลา สร้อยแล้วเลียบทะเลไปยังบ้านนาเกลือ พัทยา นาจอมเทียน ทุ่งไก่เตี้ย สัตหีบ แล้วเดินทางไปเมืองระยองที่ย่านปากน�้ำ ระยองซึ ง ่ ถือว่าเป็นการเดินทางบกแต่เลียบชายฝั ง ่ ทะเลใน ระยะทางทั้งสิ้นประมาณ ๑๕๐ กิโลเมตร ระยะทางไปยัง นาเกลือ นาจอมเทียน และสัตหีบแล้วจึงวกเลียบชายฝั่ง ผ่านบ้านพลา มาบตาพุดเข้ามายังเมืองระยองยังเป็นการ เดินทางที่อ้อมไกล มีชุมชนเบาบางเพราะไม่ใช่พื้นที่อุดม สมบูรณ์ ผู้คนทั้งในอดีตและปัจจุบันไม่ใช้วิธีการเดินทาง ไกลเช่นนี้ แต่ถ้าเลือกเดินทางตัดข้ามเขตป่าดงและที่สูง เข้าสู่แอ่งที่ราบคลองใหญ่หรือแม่น�้ำระยองที่กว้างขวาง กว่าแอ่งที่ราบอื่นๆ มีความอุดมสมบูรณ์ มีชุมชนผู้คนอยู อาศัยกันหนาแน่นกว่าย่านบ้านเมืองอื่นๆ และที่ส�ำคัญคือ พม่ายังไม่ได้เข้ายึดครอง จึงเสนอข้อสันนิษฐานที อ ่ าจเป็นไปได้อ ก ี ประการ หนึ ง ่ คือ หลังจากเสร็จศึกใหญ่ในแถบย่านอ�ำเภอราชสาส์น ปัจจุบันกับพม่าที่ประจ�ำคุมอยู่ ณ ปากน�้ำโจ้โล้ ทัพจาก กรุงศรีอยุธยาของพระยาตากน่าจะเลือกเดินทางโดยใช แนวคลองหลวงหรือล�ำน�้ำพานทองจากจุดที่เป็นต้นคลอง พานทองที่เมืองพระรถในอ�ำเภอพนัสนิคมปัจจุบัน ตัด ไปยังชุมชนเก่าภายในอันเป็นเมืองสมัยทวารวดีเช่นกัน ซึ่งเส้นทางนี้เป็นเส้นทางท้องถิ่นเก่าแก่ที่ใช้เดินทางเข้าสู ชุมชนภายในและผ่านไปยังหัวเมืองและชายฝั่งทะเลทาง ตะวันออกได้และมีการเดินทางกันอยู่เสมอ การเดินทางเข้าสู ช ่ ม ุ ชนภายใน ปัจจุบ น ั เรียกกันว่า “เมืองพญาเร่” ในอ�ำเภอบ่อทอง ซึ่งมีศาลใหญ่นอกเมือง เรียกว่า “ศาลเจ้าพ่อพญาเร่” ต�ำนานเรื่องเล่าต่อกันมาว่า เจ้าพ่อพญาเร่ร ว ่ มกับพรรคพวกเพื อ ่ นชายฉกรรจ์ชาวเขมร ป่าดง สมัครเป็นคนในกองทัพของพระยาตากฯ และเสีย ชีวิตที่บริเวณนี้จึงมีการตั้งศาลให้ จากนั้นจึงเดินทางตัดลง ใต้ไปที่บ้านค่าย สถานที่ทั้งสองแห่งถือเป็นความทรงจ�ำติดสถาน ที่ซึ่งเป็นค�ำบอกเล่าของชาวบ้านนอกเส้น ทางพระราช พงศาวดาร แต่อยู่ในพื้นที่ป่าดงในเขตภายใน และนึกหา สาเหตุไม่ได้เลยว่าท�ำไมจึงมีเรื่องเล่าเช่นนี้ติดสถานที่อยู ในเขตป่าเขาห่างไกล มีชุมชนอยู่อาศัยตั้งถิ่นฐานเป็นกลุ่ม ใหญ่เมื อ ่ ไม่นาน ชาวบ้านกราบไหว้บ ช ู าโดยเชื อ ่ ว่า “เจ้าพ่อ” เคยเป็นทหารของทัพพระเจ้าตากฯ ๔. ตั ง ้ ฐานที ม ่ น ั่ ที เ ่ มืองระยองแล้วมุ ง ่ สู เ ่ มืองจันทบูร และตราด ในพระราชพงศาวดารกล่าวว่าจากสัตหีบแล้วเดิน ทางไปที่ “หินโด่ง” รุ ง ่ ขึ น ้ ค้างที่ “น� ำ ้ เก่า” ที ซ ่ ง ึ่ ผู ร ้ ง ั้ และกรม การเมืองระยองออกมารับเสด็จ ผู้ศึกษาเกี่ยวกับเส้นทาง เดินทัพของพระยาตากฯ พยายามหาที่ตั้งของสถานที่ ใน เขตย่านเมืองระยองทั้งสองแห่งแต่ล้วนไม่แน่ ใจว่าท�ำไม จึงไม่เข้าเมืองระยองตามเส้นทางที ม ่ าจากสัตหีบ หากออก มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 13