เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 12
พระเจ้าตากกับการมุ ง ่ ตะวันออกเพื อ ่ ภารกิจ
กู้กรุงศรีอยุธยา
พระยาตากหรือพระยาวชิรปราการตัดสินใจตีฝ่า
วงล้อมทัพพม่าออกจากกรุงศรีอยุธยาเพื อ ่ ไปทางด่านเมือง
นครนายก เลียบชายดงศรีมหาโพธิ์เข้าสู่ที่ราบลุ่มแม่น�้ำ
บางปะกง แล้วมุ่งสู่หัวเมืองชายฝั่งทะเลตะวันออกในช่วง
ก่อนพระนครสูญเสียต่อทัพพม่าราว ๓ เดือน เพื่อสะสม
ผู้คนและจัดทัพย้อนกลับไปกู้บ้านเมืองอีกครั้ง
การศึกษาเรื อ ่ งสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชของ
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ สร้างสมมติฐานแนวทาง
การเดินทัพของพระยาตากเพื อ ่ รวบรวมไพร่พลท�ำให้เข้าใจ
ข้อมูลในท้องถิ่นใหม่ๆ โดยการเดิน ทางในแต่ละระยะ
สามารถแบ่งออกได้เป็น ๔ ระยะ
๑. จากกรุงศรีอยุธยาสู่ชายเขตแดนต่อเมือง
นครนายก
พระยาตากออกจาก “ค่ายวัดพิชัย” มาจนถึง
“บ้านหันตรา บ้านธนู” และ “บ้านสามบัณฑิต” ซึ่งตั้งอย
โดดเดี่ยวกลางทุ่งพระอุทัยแล้วเดินทางต่อไปยัง “บ้านโพ
สังหารหรือบ้านโพสาวหาญ” อยู่ห่างจากกรุงศรีอยุธยาไป
ทางตะวันออกราว ๒๐ กิโลเมตร พม่าส่งกองทัพติดตามมา
อีกจึงรบกันจนทัพพม่าแตกพ่ายไปแล้วเดินทัพต่อไปจนถึง
“บ้านพรานนก” จึงหยุดพักแรม ช่วงเวลาแห่งการสู ร ้ บเพื อ ่
หนีจากทัพพม่าที่อยู่ประชิดเมือง และสู้รบตามรายทางใช
เวลาราว ๒-๓ วันจึงเดินทางเข้าเขตเมืองนครนายก
๒. จากนครนายกผ่านด่านกบแจะและชายดง
ศรีมหาโพธิ์ : การสู้รบกลางทุ่ง
ทัพพระยาตากเลียบเขาผ่าน “บ้านนาเริ่ง” ซึ่งน่า
จะเป็นบริเวณอ�ำเภอบ้านนา มี “วัดโรงช้าง” และ “บ้าน
โรงช้าง” ซึ ง ่ เคยเป็นชุมชนโพนช้างจับช้างป่าตามแถบเทือก
เขาดงพญาเย็นส่งไปยังเพนียดที่กรุงศรีอยุธยา พบ “ขุน
ช�ำนาญไพรสน” นายกองช้างน�ำช้างมอบให้พระยาตาก ๖
ช้าง แล้วเดินทางไปตามเส้นทางมุ่งไปยังเมืองปราจีนบุร
เก่า ผ่าน “ด่านกบแจะ” ริมแม่น�้ำปราจีนบุรีฝั่งเหนือ เลียบ
ชายดงศรีมหาโพธิผ่านอาณาบริเวณของเขตเมืองโบราณ
12
คู่มือ “เยี่ยมยามเมืองจันทบูร”
เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ
สมัยทวารวดีที่ปัจจุบันเรียกว่า “เมืองศรีมโหสถ” กว่า ๙
วัน “พระเชียงเงิน ขุนพิพิธวาที นักองราม” ซึ่งขุนนางเชื้อ
สายจีนที่น่ามีถิ่นฐานแถบหัวเมืองตะวันออกและเจ้าเขมร
ติดตามมาสมทบ ตั้งค่ายพักแรมในป่าที่เรียกว่า “ส�ำนัก
หนองน� ำ ้ ” ค�ำว่า “ส�ำนัก” หรือ “ชุมนุม” นี ย ้ ง ั ใช้เรียกชุมชน
บ้านห่างที่ในป่าดงแถบตะวันออก
พระยาตากรบครั้งใหญ่กับทัพพม่าบริเวณเหนือ
จากท่าข้ามและปากน� ำ ้ โจ้โล้ น่าจะเป็นบริเวณที ล ่ ม ่ ุ ระหว่าง
ชายดงศรีมหาโพธิและบ้านดงน้อย ในอ�ำเภอราชสาส์น
จังหวัดฉะเชิงเทรา ไม่ใช่การศึกที ร ่ บกันบริเวณปากน� ำ ้ โจ้โล
ซึ่งเป็นจุดที่ล�ำน�้ำท่าลาดต่อกับแม่น�้ำบางปะกงดังที่นัก
ประวัติศาสตร์สรุป
แล้วเคลื่อนทัพไปทาง “บ้านทองหลาง” และ
คลองท่าทองหลางที่แยกออกมาจากแม่น�้ำบางปะกง ใน
อ�ำเภอบางคล้า อยู่ต�่ำจากปากน�้ำโจ้โล้ราว ๕-๖ กิโลเมตร
“ตะพานทอง” หรือ “พานทอง” ซึ ง ่ เป็นชื อ ่ ของล�ำน� ำ ้ ส�ำคัญ
สาขาหนึ่งต้นน�้ำที่อยู่ในเขตป่าดงพื้นที่สูงในอ�ำเภอบ่อทอง
พงศาวดารรวบรัดตัดความกล่าวไปถึงการเดินทัพไปที บ ่ าง
ปลาสร้อยอย่างรวดเร็วจนถึงบ้านนาเกลือซึ่งมีนายกล�่ำคุม
พลคอยสะกัดอยู่
๓. จากฉะเชิงเทรามุ่งสู่พัทยา นาจอมเทียน
สัตหีบ และแขวงเมืองระยอง
รุ่งขึ้นจึง “ถึงพั ทยา” แต่พงศาวดารฉบับบริติช
มิวเซียมว่า “ถึงทัพ” จึงมีข้อสังเกตกันต่อมาว่า จะใช
ต�ำแหน่งที่ “พัทยา” หรือไม่ แล้วจึงยกมา “นาจอมเทียน”
มาพักที่ “ทัพไก่เตี้ย” ที่ฉบับบริติช มิวเซียมว่าเป็น “ทุ่งไก
เตี ย ้ ” ต่อมาจึงถึง “สัตหีบ” เลียบชายทะเลต่อมาจึงถึง “หิน
โด่ง” และ “น� ำ ้ เก่า” ที ผ ่ ร ้ ู ง ั้ เมืองระยองออกมารับ ซึ ง ่ ข้อมูล
เหล่านี้ล้วนมาจากเอกสารพระราชพงศาวดารที่บันทึกไว
ภายหลังจากเหตุการณ์อย่างน้อยคือปลายรัชกาลสมเด็จ
พระเจ้าตากสินฯ ซึ่งใช้เวลามากกว่า ๑๐ ปีขึ้นไป
การศึกษาของมูลนิธ เ ิ ล็ก-ประไพ วิร ย ิ ะพันธุ์ ตั ง ้ ข้อ
สังเกตจากข้อมูลที่กล่าวว่า ทัพที่หนีมาจากกรุงศรีอยุธยา
จะเดินทางผ่านบางปลาสร้อยจากต้นคลองพานทอง แต