เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 11

เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทาง ประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ วลัยลักษณ์ ทรงศิร หากจะท่องเที่ยวภาคตะวันออก ควรท�ำความ เข้าใจภูมิวัฒนธรรมหรือ Cultural Landscape ซึ่งสัมพันธ กั บ การตั้ ง ถิ่ น ฐานบ้ า นเมื อ ง เพราะจะท� ำให้ เ ห็ น ภาพ ประวัติศาสตร์ทั้งในแบบประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการ และประวั ติ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ่ น หรื อ ประวั ติ ศ าสตร์ สั ง คมท สัมพันธ์กับผู้คนในพื้นที่ได้อย่างเข้าถึงมากขึ้น การ “เยี่ยมยามเมืองจันทบูร” ครั้งนี้ แม้จะไม่ได พาเที่ยวกันจนครบถ้วนกระบวนความทั้งกลุ่มบ้านเมือง ที่เป็นชุมชนเลียบชายฝั่งทะเล ชุมชนเมืองท่าภายใน ไป จนถึงชุมชนบ้านป่าเมืองสวนในเขตเทือกเขาซึ่งเป็นต้น ทางของหัวใจแห่งทรัพยากรธรรมชาติอันก่อให้เกิดเมือง จันทบูร เนื่องจากไม่มีเวลาเพียงพอในการเยี่ยมชม ชวน เชิญมาท�ำความรู้จักกับเมืองท่าภายใน “จันทบูร” ที่ม ความส�ำคัญต่อบ้านเมืองสยามหลายยุคสมัยในพื น ้ ที ภ ่ ายใน ลุ่มน�้ำและใกล้ชายฝั่ง จุดเริ ม ่ ต้นของการเดินทางครั ง ้ นี ม ้ าจากงานศึกษา ความส�ำคัญของเมืองระยองในเส้นทางพระเจ้าตากมุ่งสู หัวเมืองตะวันออก ท�ำให้ค้นพบว่าการบันทึกในพระราช พงศาวดารและต�ำนานความเชื่อในพื้นที่นั้นมีร่องรอยของ ความแตกต่างกันค่อนข้างมาก หากเน้นเฉพาะบันทึกจาก ส่วนกลางเพียงอย่างเดียวโดยไม่ท�ำความเข้าใจสภาพ ภูม ศ ิ าสตร์และสังคมของผู ค ้ นในท้องถิ น ่ ต่างๆ ที เ ่ กิดขึ น ้ ตาม รายทางแล้วก็อาจท�ำให้เกิดความเข้าใจผิดไปเสียง่ายๆ รวม ทั้งต้องแยกแยะระหว่างข้อเท็จจริงและความเชื่อในเรื่อง เล่าสืบต่อกันมาในต�ำนาน รวมทั ง ้ ประเด็นความเชื อ ่ ศรัทธา ที่ท�ำให้สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ กลายเป็นบุคคลศักดิ์สิทธ ในท้องถิ่นต่างๆ ด้วย อนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ที่จันทบุร มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 11