เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 10

ในบริเวณที ก ่ องทัพตั ง ้ ประชิดและล้อมเมืองจันท์ไว้แล้วเพื อ ่ การจู โ ่ จมเมื อ ่ ได้จ ง ั หวะเวลาที เ ่ หมาะสม เพราะเมื อ ่ ได้ศ ก ึ ษา ดูต ำ � แหน่งที ต ่ ง ั้ และลักษณะของเมืองจันทบุรีในสมัยนั น ้ หา ได้เป็นเมืองที่มีป้อมปราการแข็งแรงและใหญ่โตเช่นเมือง สงขลาครั้งกองทัพบกและเรือของทางกรุงศรีอยุธยาสมัย สมเด็จพระนารายณ์ฯ รบพุ่งเอาเมืองได้ จึงต้องใช้เวลา และก�ำลังมากมายต่อสู้กันเป็นเดือนจึงตีได แต่เมืองจันทบุร ม ี ต ี ว ั เมืองขนาดเล็กตั ง ้ อยู่ในชัยภูม ที่ดีติดกับแม่น�้ำจันทบุรีและอยู่บนเนินสูง จากการศึกษา ส�ำรวจในขณะนี้พบร่องรอยเพียงแนวคันดินและก�ำแพง ล้อมรอบขนาดเล็กที่เป็นทั้งจวนเจ้าเมืองและศูนย์กลางใน การบริหารปกครอง ลักษณะเป็นเมืองป้อมที่เรียกว่าเวียง วัง ท�ำให้การเข้าโจมตีของกองทัพพระยาตากจึงเกิดขึ้นใน ลักษณะจู่โจมและปล้นเมืองได้ด้วยเวลาอันสั้น เมื่อมาถึงตรงนี้ก็หัน มามองดูบริเวณวัดพลับท เชื่อกันว่าเป็น ที่ตั้งกองทัพของพระยาตากตอนทุบหม้อ ข้ า วหม้ อ แกงที่ ตั้ ง อยู ่ ท างตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ข องเมื อ ง จันทบุรี เป็นบริเวณชายน�้ำที่เป็นท่าเรือของชาวบ้านชาว เมืองที่ตั้งถิ่นฐานใกล้ชายทะเลเช่นเดียวกันกับท่าแฉลบท อยู่ห่างไปทางตะวันออกเล็กน้อยจึงมีปัญหาว่าบริเวณท ตั้งอยู่บนเส้นทางเดินทัพของพระยาตากจากเมืองระยอง มาตีเมืองจันทบุรีหรือไม่ เพราะเท่าที่ข้าพเจ้าและคณะได ศึกษาเส้นทางเดินทัพของพระยาตากแต่ตอนหนีออกจาก กรุงศรีอยุธยาด้วยก�ำลังคนจ�ำนวนน้อยดังเช่นในต�ำนาน พงศาวดารบอกว่ามีราว ๕๐๐ คน ที่ส่วนใหญ่เป็นคนจีน เท่านั น ้ มารวบรวมเป็นกองก�ำลังใหญ่ได้โดยสะสมมาตาม รายทางจากอยุธยา นครนายก และปราจีนบุรีจนมาถึง ล�ำน�้ำท่าลาดในเขตจังหวัดฉะเชิงเทราแล้วตัดขึ้นเดินทาง บกผ่านอ�ำเภอพนัสนิคมเดินทางตามเส้นทางภายในมาท ระยองเพื่อก่อตั้งฐานทัพในบริเวณอ�ำเภอบ้านค่ายอันเป็น บริเวณที่อุดมสมบูรณ เมื่อแข็งแรงพอแล้วจึงเดินทัพเข้าตีเมืองจันทบุร เป็นทางเดินทัพทางบกที่ ไม่ได้มาทางทะเลผ่านช่องเขา ระหว่างระยองกับจันทบุรีมาทางท่าใหม่ อันเป็นบริเวณ 10 คู่มือ “เยี่ยมยามเมืองจันทบูร” เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ บ้านสวนเมืองสวนที ม ่ เ ี ขาพลอยแหวนเป็นเขาศักดิ ส ์ ท ิ ธิ์ ผ่าน ทางเหนือของเขาพลอยแหวนมาต�ำบลท่าช้างอันเป็นที่ตั้ง ของเมืองจันทบุรีบนที่เนินและเข้าตีเมืองต�ำแหน่งเส้นทาง เดินทัพผ่านเขาพลอยแหวนนั น ้ อยู ท ่ างด้านเหนือ แต่บริเวณ วัดพลับที่เชื่อว่าเป็น ที่ตั้งกองทัพอยู่ทางใต้ติดกับล�ำน�้ำ จึงห่างกันอยู่มาก จากการศึกษาภูมิประเทศและถิ่นฐานบ้านเมือง ตามเส้น ทางเดิน ทัพของพระยาตากมาเมืองจัน ทบุรีดัง กล่าวนี้ ท�ำให้เข้าใจในภูม ว ิ ฒ นธรรม [Cultural Landscape] ของเมืองจัน ทบุรีดีขึ้น ท�ำให้เห็นถิ่นฐานบ้านเมืองแต โบราณเป็นอย่างไร และมีการเปลี ย ่ นแปลงมาตามยุคสมัย อย่างไรจากค�ำบอกเล่าเชิงต�ำนานของคนในท้องถิ่นโดย เฉพาะบรรดาชื่อบ้านนามเมืองและสภาพทางสังคมศิลป วัฒนธรรม และชีวิตวัฒนธรรมของคนท้องถิ่นในปัจจุบัน โดยเหตุนี้ทางมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ จึง ด�ำริที่จะจัดการน�ำเที่ยวบ้านเก่าเมืองเก่าไปตามต�ำนานที่ คนในท้องถิ่นสร้างขึ้น เพื่อให้เข้าถึงประวัติศาสตร์สังคม ศิลปวัฒนธรรม และชีวิตวัฒนธรรมของผู้คนในสังคม ท้องถิ น ่ ในลักษณะที่ไม่ใช่การท่องเที ย ่ วที ท ่ ำ � กันอยู ท ่ ว ั่ ๆ ไป แต่เป็นการท่องเที ย ่ วตามเส้นทางสายเก่าไม่ใช่ไปตามถนน ใหญ่ไฮเวย์ และทางเลี่ยงเมืองอย่างในปัจจุบันที่มุ่งเฉพาะ บริเวณใดบริเวณหนึ่งหรือจุดใดจุดหนึ่ง