เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 9

เห็นภาพรวมของถิ่นฐานบ้านเมืองแต่โบราณและผลการ ศึกษาอย่างหนึ ง ่ ก็ได้น ำ � มาเสนอในวารสารเมืองโบราณใน ภาพจ�ำลองของเมืองประวัต ศ ิ าสตร์บนหน้าปกวารสารเพื อ ่ ให้เห็นภาพรวมของภูม ว ิ ฒ นธรรมของบ้านเมืองอย่างมีช ว ี ต ิ ชีวาในอดีต ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการเรียนรู้ของทั้งผู้คน ภายในท้องถิ น ่ ปัจจุบ น ั และคนนอกที เ ่ ข้ามาชมมาเที ย ่ วแหล่ง เมืองเก่าที เ ่ หลือแต่ร อ ่ งรอยความหักพังและสภาพแวดล้อม ที่ถูกเปลี่ยนแปลงไป ดั ง แลเห็ นได้ ใ นปั จ จุ บั น ว่ า คนที่ ไ ปเที่ ย วแหล่ ง โบราณคดีท เ ี่ ป็นบ้านเก่าและเมืองโบราณเหล่านั น ้ ไปได้เห็น แต่เมืองเฉพาะจุดเฉพาะแห่ง หาได้แลเห็นสภาพแวดล้อม ของความเป็นบ้านเก่าเมืองเก่าจนสามารถจินตนาการถึง ภาพรวมในอดีตได ยกตัวอย่าง เช่น เมืองประวัติศาสตร์อยุธยาและ สุโขทัยที่ทุกคนเดินทางเข้าไปแต่เส้นทางใหม่ที่ข้ามผ่าน บริเวณที่เป็นนิเวศวัฒนธรรมของท้องถิ่น เช่น บ้านเรือน เรือกสวน ไร่นา ตลาด และสถานที่ต่างๆ ที่สัมพันธ์กับ ถนนหนทางและล�ำน�้ำล�ำคลองไปหมดสิ้น เพียงมุ่งดูแต บรรดาโบราณสถานที่เหลือแต่ซากที่แม้ว่าจะมีการบูรณะ ขึ้นมาใหม่ก็ตาม ผลที่ตามมาก็คือการท่องเที่ยวแบบน ไม่ได้ความรู้ความเข้าใจทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรม อะไรเลย แต่ยิ่งกว่านั้นการท่องเที่ยวแบบนี้ยังสร้างต�ำนาน บ้านเมืองใหม่แบบมโนใหม่ๆ ให้เป็นสีสันในการเดินทาง ด้วย เช่น การไปเที่ยวเมืองพิษ ณุโลกต้องไปดูสถานท อะแซหวุ่นกี้ขอดูตัวพระยาจักรี ฯลฯ หรือไปเที่ยวเมือง จันทบุรีต้องไปดูบริเวณที่พระยาตากสินสั่งให้ไพร่พลรบ ทุบหม้อข้าวหม้อแกงก่อนเข้าตีเมืองจันทบุรี ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ในฐานะที่ข้าพเจ้าเห็นนักศึกษาทางภูม วัฒนธรรมของบ้านเมืองโบราณเดาไม่ออกบอกไม่ถูกว่า เรื่องที่เกิดในความเป็นจริงทางประวัติศาสตร์หรือเป็น ต�ำนานที ค ่ นนอกท้องถิ น ่ และคนรุ น ่ ใหม่สร้างขึ น ้ เพราะล้วน ดูข ด ั กับสภาพแวดล้อมทางภูม ว ิ ฒ นธรรมของบ้านเมืองแต โบราณ ดังต�ำแหน่งของบริเวณ “วัดพลับ” ในเขตต�ำบล บางกะจะ ที่คนส่วนใหญ่ปัจจุบันในท้องถิ่นจันทบุรีและคน จากภายนอกเชื่อว่าเป็นบริเวณที่พระยาตากสินให้แม่ทัพ นายกองทุบหม้อข้าวก่อนยกเข้าตีเมืองจันทบุรี ซึ่งนั่นก แสดงว่าต�ำแหน่งของกองทหารพระยาตากก่อนเข้าตีเมือง จันทบุร อ ี ยู ท ่ ท ี่ างตะวันตกเฉียงใต้ห า ่ งเมืองจันทบุร ร ี าว ๖-๗ กิโลเมตร อันเป็นระยะทางที่ห่างจากตัวเมืองจันทบุรีพอท ท�ำให้กองทหารต้องเหนื อ ่ ยล้าพอสมควร อีกทั ง ้ จะท�ำให้ทาง ฝ่ายเมืองจันทบุรีหาทางตั้งรับและตีกลับได้พอสมควร ถ้าหากเหตุการณ์ท บ ุ หม้อข้าวมีจริงก็คงจะเกิดขึ น ้ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 9