เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 14
มารับจะขึ้นเหนือไปตามล�ำน�้ำระยอง เพราะควรจะออก
ไปรับทางฝั่งตะวันตกของเมืองที่ผ่านมาทางบ้านพลาและ
มาบตาพุด
จาก “หินโข่ง” อาจจะตัดเข้าสู่บ้านค่ายที่ “บ้าน
ตีนเนิน” “บ้านท่าฉนวน” เข้าสู่ “บ้านค่าย” ที่อยู่เหนือขึ้น
ไปตามล�ำน�้ำคลองใหญ่หรือล�ำน�้ำระยองจากบ้านเก่าราว
๑๐ กิโลเมตร ในพระราชพงศาวดารบันทึกไว้ท ง ั้ สองค�ำคือ
“บ้านไข้” ตามส�ำเนียงคนระยองแถบนี้ และมีการกล่าวถึง
“นายชื น ่ บ้านค่าย” ที เ ่ ป็นนายชุมนุมในย่านหัวเมือง ทั ง ้ เป็น
เพื่อนกับ “นายบุญมา แขนอ่อน และนายทองอยู่ นกเล็ก”
ซึ่งชุมชนในบริเวณบ้านค่ายนี้มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับการมาตั้ง
ทัพของไพร่พลของพระยาตากที่ใกล้หนองน� ำ ้ แห่งหนึ ง ่ และ
คนเก่าๆ ยังเชื่อว่าบ้านค่ายเป็นสถานที่หนึ่งในเส้นทางเดิน
ทัพของพระยาตาก
วัดบ้านค่ายอาจจะเป็นวัดเก่าแก่อาจจะเก่าที่สุด
ในเขตที่ราบลุ่มแม่น�้ำระยองนี้ น่าจะเป็นสถานที่ตั้งของ
เมืองระยองเก่าที่อยู่เข้าไปภายในซึ่งหัวเมืองชายฝั่งมักจะ
มีรูปแบบของเมืองที่อยู่ภายใน บริเวณนี้ตามแผนที่เก่า
มีแนวคูคันดินรูปสี่เหลี่ยมและเรียกว่า “หน้าฉนวน” ซึ่ง
ปัจจุบ น ั ไม่ปรากฎร่องรอยนี อ ้ ยู่ แต่ชาวบ้านใช้พ น ื้ ที เ ่ ป็นสวน
สาธารณะและสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้า
ตากสินฯ และเมื่อมีการค้าทางทะเลและมีกลุ่มคนจีนเข้า
มาค้าขายก็ม ก ั จะตั ง ้ เมืองใหม่ย า ้ ยไปอยู ท ่ ป ี่ ากน� ำ ้ โดยเฉพาะ
ในช่วงสมัยอยุธยาตอนปลาย เพราะพบโบราณวัตถุ เช่น
พระพุทธรูปยืนท�ำจากหินทราย ใบเสมาหินทรายที่น่าจะ
มีอายุไปถึงสมัยอยุธยาตอนต้นหรือกลางและดูจะเก่ากว่า
ย่านชุมชนหรือวัดดั้งเดิมอื่นๆ ในที่ราบลุ่มเดียวกันรวม
ทั้งวัดในย่านเมืองระยองปากน�้ำที่มีอายุอยู่ในช่วงอยุธยา
ตอนปลายทั้งสิ้น พบว่ามีศาลเจ้าแม่หลักเมือง ซึ่งเป็น
ศาลหลักเมืองแบบเก่าที เ ่ ป็นเพศหญิงนี น ้ า ่ จะเป็นการแสดง
ถึงกลุ่มชุมชนดั้งเดิมที่เป็นกลุ่มเก่าคือ “ชาวชอง” ที่นับถือ
ให้ความส�ำคัญทางฝ่ายหญิง เช่นเดียวกับศาลเจ้าแม่กาไว
ที เ ่ มืองเพนียดในจังหวัดจันทบุรี ก่อนที จ ่ ะมีความนิยมสร้าง
ศาลหลักเมืองแบบจีนและมักจะเรียกว่าเจ้าพ่อหลักเมืองกัน
14
คู่มือ “เยี่ยมยามเมืองจันทบูร”
เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ
เสียมากกว่า
เมื อ งระยองนั้ น ถื อ ว่ า เป็ น ที่ ตั้ ง ส� ำ คั ญ เพราะ
พระยาตากตั้งตนเป็นหัวหน้าชุมชนปราบดาภิเษกในนาม
“พระเจ้าตากสิน” ณ เมืองแห่งนี้ ตั้งค่ายรวบรวมผู้คนและ
ใช้ย ท ุ ธวิธ ต ี า ่ งๆ ทั ง ้ การปราบด้วยก�ำลัง การเกลี ย ้ กล่อมให
อ่อนน้อม เช่น ส่งนายบุญมี นายบุญรอด แขนอ่อน นายบุญ
มา น้องเมียพระยาจันทบูรไปเกลี้ยกล่อมเจ้าเมืองจันทบูร
ให้ร่วมเป็น พวก นายบุญเมืองผู้รั้งเมืองบางละมุงและ
เป็นมหาดเล็กเดิม ซึ่งชอบพอคุ้นเคยกับพระยาจันทบูร
รับหนังสือจากฝ่ายพม่าที่โพสามต้นเพื่อจะส่งไปให้พระยา
จันทบูรเข้าไปสวามิภักดิ์ พระยาตากจับตัวไว้และส่งคืน
พระยาจันทบูรโดยไม่ได้ท�ำอันตราย ฯลฯ
ช่วงเวลาที่ตั้งค่ายอยู่เมืองระยองนี้ยังให้พระพิชัย
และนายบุญมีเดินทางไปเมืองปากน�้ำพุทไธมาศหรือฮ่า
เตียน เพื่อติดต่อขอความช่วยเหลือให้จัดทัพเข้าไปกู้กรุงฯ
จากพระยาราชาเศรษฐี (ญวน) หรือ “มักเทียนตื้อ” ซึ่งถูก
ปฏิเสธกลับมา แล้วออกไปปราบ “นายทองอยู่ นกเล็ก” ท
เมืองชลบุรี รวมทั้งน�ำกองทหารไปปราบผู้ที่ไม่เข้าร่วมทัพ
และข่มเหงชาวบ้าน
เมื่อข้ามล�ำน�้ำประแสซึ่งกว้างใหญ่กว่าล�ำน�้ำสาย
อื น ่ ในบริเวณเส้นทางที่ “ชาวบ้านทะเลน้อย” ยังใช้มาจนถึง
ปัจจุบันและมีเรื่องเล่าในท้องถิ่นเล่าสู่กันต่อมารวมทั้งร่อง
รอยของการประดิษฐานพระแท่นบัลลังก์เก็บรักษาไว้ที่วัด
ทะเลน้อยหรือวัดราชบัลลังก์ปฏิฐาวราราม แล้วข้ามล�ำน�้ำ
พังราดผ่านย่านวัดหนองไทร และวัดโขดหอยเพื่อไปยังทุ่ง
สนามชัยที่อยู่ในวงล้อมของภูเขาขนาดย่อมๆ ใช้ “ช่องเขา
ตะอุก” หรือ “คอเขาตอม่อ” ข้าม “คลองล�ำพัน” “ห้วย
ขโมง” อันเป็นสาขาของคลองวังโตนด ล�ำน� ำ ้ นี เ ้ มื อ ่ ออกปาก
ทะเลเรียกว่าปากน�้ำแขมหนู ตัดผ่าน “ท่าใหม่” และ
“เขาพลอยแหวน” ซึ่งเป็นชุมชนจีนเก่าดั้งเดิมของเมืองจัน
ทบูรที่ท�ำสวนและท�ำประมง
ตามพระราชพงศาวดารอาจจะถือว่า การเข้าต
เมืองจันทบูรถือเป็นด่านสุดท้ายที่ยากล�ำบากเพราะจาก
การเปรียบเปรยที่ “วัดแก้วริมเมือง” หลังจากที่ต้องเอา