การท่องเที่ยวทางน�้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย
หลายล�ำเพิ่มขึ้นใน 4 เมืองหลัก ได้แก่ นครเซี่ยงไฮ้ เซียะเหมิน เที่ยนจิง และกวางโจว นอกจากนี้ รัฐบาลจีนยังได้ออกกฎหมาย อนุญาตให้บริษัทที่ด�ำเนินธุรกิจเรือส�ำราญของต่างประเทศจัดตั้ง ตัวแทนธุรกิจเพื่อด�ำเนินการได้อย่างเต็มรูปแบบ
ส�ำหรับประเทศไทยนั้นเป็นที่สนใจของบริษัทเดินเรือส�ำราญระหว่าง ประเทศหลายราย ในการเป็นจุดแวะเที่ยวของนักท่องเที่ยว ซึ่งเป็น โอกาสที่ไทยจะกระตุ ้นอุตสาหกรรมท่องเที่ยวทางทะเลของประเทศ ให้เติบโต ที่ผ่านมาด้วยข้อจ�ำกัดหลายประการท�ำให้ประเทศไทย สามารถเป็นได้เพียงท่าเรือแวะพักที่จะคอยต้อนรับนักท่องเที่ยวที่ เดินทางมากับเรือส�ำราญขนาดใหญ่ รัฐบาลชุดปัจจุบันจึงคาดหวังว่า ในอนาคตอันใกล้ประเทศไทยจะสามารถพัฒนาจากการเป็นเพียง ท่าเรือแวะพักมาเป็นท่าเรือ Cruise Home Ports และก้าวไปสู่ การเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวด้วยเรือส�ำราญของอาเซียน อย่างไรก็ตาม การพัฒนาดังกล่าวขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่ ส่งเสริมและเป็นข้อจ�ำกัดในการพัฒนาการท่องเที่ยวเรือส�ำราญ ของไทย โดยมีรายละเอียดดังนี้
ปัจจัยเสริม
• ประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวที่ต่างชาติรู ้จักและให้ความสนใจใน ล�ำดับต้นๆ โดยเฉพาะความสวยงามของทะเล และเกาะแก่ง ต่างๆ ที่มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม วิถีชีวิตความเป็นอยู่ อย่างไทย ซึ่งเป็นเสน่ห์ดึงดูดให้ชาวต่างชาติเดินทางมาเยือน ประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง
• ความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ต่างๆ เช่น มีการอ�ำนวยความสะดวกและความรวดเร็วในการ เดินทางเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ มีโรงแรมที่พักที่มีให้ เลือกหลากหลายรูปแบบและราคา ร้านอาหารและภัตตาคาร จ�ำนวนมาก เป็นต้น
• นโยบายรัฐบาลที่มีความชัดเจนมากขึ้น ในการสนับสนุน การท่องเที่ยวด้วยเรือส�ำราญขนาดใหญ่( Cruise)
ข้อจ�ำกัด
• ขาดความพร้อมของท่าเทียบเรือ ปัจจุบันยังไม่มีท่าเทียบ เรือส�ำราญที่ได้มาตรฐานส�ำหรับรองรับเรือส�ำราญที่มีขนาดใหญ่ ทั้งในฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน ยังใช้ท่าเทียบเรือขนส่งสินค้า โดยเฉพาะการพัฒนาท่าเทียบเรือในฝั่งอ่าวไทย ที่มีโอกาส รองรับการเชื่อมโยงเส้นทางการเดินเรือตามเส้นทางสายไหม ทางทะเลในศตวรรษที่ 21 เชื่อมต่อ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ก่อนที่จะเดินทางไปยังท่าเรือของมาเลเซียและสิงคโปร์
• ผู ้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวของไทยบางส่วนขาดมาตรฐาน และคุณภาพการให้บริการ โดยเฉพาะบริษัทน�ำเที่ยวที่มีบทบาท ส�ำคัญในการเข้ารับช่วงดูแลผู้โดยสารบนเรือส�ำราญเมื่อขึ้นฝั่ง ทั้งการน�ำเสนอกิจกรรมน�ำเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว การจัด พาหนะน�ำเที่ยว การพาไปซื้อของ นอกจากนี้ ยังขาดความ ร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่องของสมาคมด้านการท่องเที่ยว ที่เกี่ยวข้อง ในการประสานความร่วมมือกับสมาคมการเดินเรือ ส�ำราญระหว่างประเทศและผู ้ประกอบการเดินเรือส�ำราญ ในการ ผลักดันการก�ำหนดเส้นทางเดินเรือที่แวะมาเทียบท่าและ พักค้างคืนในประเทศไทยมากขึ้น
รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว
51