รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว ฉบับที่ 2 ASEAN CONNECT | Page 52

การท่องเที่ยวทางน�้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย
10 อันดับท่าเทียบเรือ Cruise ยอดนิยม
ปี 2557
ปี 2558
ล�ำดับ
ท่า / เมือง
จ�ำนวนวัน
เทียบท่า
ท่า / เมือง
จ�ำนวนวัน
เทียบท่า
1
สิงคโปร์
335
สิงคโปร์
374
2 เหมาชาน / เซี่ยงไฮ้
3 เกาะเจจู / เกาหลีใต้
254
เกาะเจจู /
เกาหลีใต้
217
218
ฮ่องกง
200
4 ฮ่องกง 184 เหมาชาน / เซี่ยงไฮ้
5 จอร์จทาวน์ / ปีนัง
183 จอร์จทาวน์ / ปีนัง
6 คีลุง / ไทเป 147 อ่าวป่าตอง / ภูเก็ต
7 อ่าวป่าตอง / ภูเก็ต
115 พอร์ตคลัง / กัวลาลัมเปอร์
183 177 140 131 8 โฮจิมินต์ซิตี้ 111 คีลุง / ไทเป 130 9 พูซาน /
เกาหลีใต้
10 ฮาลองเบย์ / ฮานอย
108 โฮจิมินต์ซิตี้ 130 108 NA-
ที่มา: ประมวลจาก Cruise Lines International Association Southeast Asia. Asia Cruise Trends 2014 Edition
ส�ำหรับในปี 2558 CLIA คาดว่าจะมีเส้นทางเดินเรือใหม่ๆ เพิ่ม มากขึ้น โดยร้อยละ 92.1 เป็นการเดินทางภายในภูมิภาคเอเชีย ที่ให้บริการโดยบริษัทเรือของเอเชีย เช่น จีนและญี่ปุ่น เป็นต้น ที่ เหลือร้อยละ 7.9 เป็นการเดินทางระยะไกลระหว่างภูมิภาคโดย เรือจากประเทศนอกภูมิภาค ท�ำให้ระยะเวลาในการเดินทางของ เส้นทาง Cruise ในภูมิภาคนี้สั้นมาก โดยร้อยละ 40 มีโปรแกรม การเดินทางเพียง 2-3 คืน และรองลงมาร้อยละ 34 มีโปรแกรม การเดินทาง 4-6 คืน
ส�ำหรับประเทศไทยปัจจุบันยังไม่มีท่าเรือโดยสาร( Cruise Terminal) โดยเฉพาะจึงเป็นจุดแวะพักชมแหล่งท่องเที่ยว การแวะจอดในประเทศไทยจึงต้องเทียบท่าร่วมกับเรือสินค้า โดยท่าเทียบที่ให้บริการหลักๆในไทยมีอยู ่5 แห่ง ท่าที่มีเรือส�ำราญ มาใช้บริการมากที่สุด คือ ท่าเรืออ่าวป่าตอง จังหวัดภูเก็ต รองลง มา ได้แก่ท่าเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ท่าเรือเกาะสมุย จังหวัด สุราษฎร์ธานี ท่าเรือจังหวัดกระบี่ และท่าเรือคลองเตย กรุงเทพฯ ตามล�ำดับ
เรือส�ำราญที่แวะเทียบท่าส่วนใหญ่ คือ ร้อยละ 80.5 แวะโดยไม่ ค้างคืนบนฝั่ง มีเพียงส่วนน้อย คือ ร้อยละ 16.2 ที่แวะพัก ค้างคืน โดยนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาลงท่าเรือคลองเตยพักค้าง คืนบนฝั่งถึงร้อยละ 54.8 และที่ท่าเรือแหลมฉบังมีการพักค้างคืน ร้อยละ 40.9 โดยที่เรือส�ำราญบางส่วนใช้ท่าเรือทั้ง 2 แห่งนี้เป็น จุดสิ้นสุดเส้นทางการเดินเรือ( Turnaround) ทั้งนี้ CLIA ได้คาดการณ์ว่า แนวโน้มจ�ำนวนวันเทียบท่าของประเทศไทย ลดลงจากเฉลี่ยร้อยละ 14 ในช่วงปี2556-2558 เหลือเพียงร้อยละ 7
ท่าเรือ
จ�ำนวนวันเทียบท่า
แวะจอด
ปลายทาง
ค้างคืน
ทั้งหมด
อ่าวป่าตอง ภูเก็ต
136
-
4
140
แหลมฉบัง ชลบุรี
41
11
36
88
เกาะสมุย
52
-
2
54
กระบี่
52
-
-
52
คลองเตย กรุงเทพฯ
13
1
17
31
รวม
294
12
59
365
ที่มา: ประมวลจาก Cruise Lines International Association Southeast Asia. Asia Cruise Trends 2014 Edition

ความท้าทายที่มาพร้อมกับปัญหาและ อุปสรรค

การท่องเที่ยวด้วยเรือส�ำราญแถบภูมิภาคเอเชียเติบโตในอัตราสูง อย่างต่อเนื่อง ทั้งการพัฒนาจุดแวะพักใหม่ อาทิ ในอินโดนีเซีย ที่พัฒนาจุดแวะพักใหม่ชื่อ Probolinggo ที่น�ำเสนอประสบการณ์ การท่องเที่ยวภูเขาไฟผนวกเข้ากับเส้นทางเดินเรือจากสิงคโปร์- บาหลี นโยบายของจีนในการผลักดันธุรกิจเรือส�ำราญเพื่อ การกระตุ้นอุตสาหกรรมท่องเที่ยว มีการจัดท�ำแผนแม่บทว่าด้วย การพัฒนาการท่องเที่ยวเรือส�ำราญจีน ภายใต้การโปรโมทเส้นทาง สายไหมทางทะเลแห่งศตวรรษที่ 21 ด้วยการผลักดันอุตสาหกรรม เรือส�ำราญจีน-อาเซียน ที่เริ่มเปิดให้บริการในเส้นทางกวางซี( เมืองเป๋ยไห่ เมืองฝางเฉิงก่าง) ไปยังฮาลองเบย์ของเวียดนาม พร้อม การพัฒนาท่าเรือ Cruise และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ให้ได้ มาตรฐานระดับสากลและหรูหรารองรับเรือขนาดใหญ่ได้พร้อมกัน
50 รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว