! THAI HOUSE IN CULTURE | Page 7

6 องค์ประกอบ และประโยชน์ใช้สอย สำ�คัญมากสำ�หรับบ้านทรงไทย เนื่องจากทำ�หน้าที่เป็นโครงสร้างหลัก  เสา ถื ตั อ ้งแต่ ว่าเป็ หลั น ง องค์ คายั ป น ระกอบท ฐานราก เสาเรือนที่ดีควรมีลักษณะเป็นไม้ท่อนกลม ยาวตรงตลอดลำ�ต้น รวม ถึงมีลักษณะใหญ่ที่โคนโตและและสอบเรียวเล็กลงที่ปลายยอดด้านบนตามธรรมชาติเพื่อการ เรือน ยึดเกาะที่ดี และช่วยให้ฝาผนังเรือนจับเสาได้มั่นคงและแข็งแรงขึ้น นอกจากนั้นเสาเรือนจะต้อง มีตาเสาอยู่ในตำ�แหน่งที่ถูกต้องและถูกโฉลก รวมถึงการเจาะรูเสาใส่รอดหรือใส่เต้าก็จะต้องม วิธีที่ถูกต้องในการวัด เพื่อที่จะได้ทำ�ให้เจ้าของเรือนอยู่เย็นเป็นสุข วัสดุ มักจะใช้ไม้เนื้อแข็งเช่นไม้เต็งหรือไม้รังเท่านั้น เนื่องจากเมื่อฝังลงไปในดินแล้ว ไม ทั้งสองชนิดนี้สามารถที่จะอยู่ได้เป็นเวลานานถึง 40-50 ปี โดยไม่ผุ มดปลวกก ไม่เจาะไช รวมถึงขนาดก็ไม่ใหญ่จนเกินไป และส่วนของเนื้อไม้ก็ไม่แข็งจนเกินไป สำ�หรับที่จะต้องนำ�มาเกลาหรือเจาะเพื่อปรุงเข้ากับส่วนประกอบอื่นๆ หลังคา และ หน้าจั่ว หลังคาเรือนไทยมีลักษณะเป็นชิ้นส่วนทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า และมีทรงสูงหรือสร้างในแบบทรง มะนิลาเพื่อให้น้ำ�ฝนสามารถไหลได้สะดวกไม่ขังอยู่บนหลังคา ส่วนชายคาที่ยื่นออกมาเป็นแนว ยาวนั้น เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ฝนสาดเข้ามาในตัวเรือน และยังเป็นที่ติดตั้งรางน้ำ�เพื่อรองน้ำ� ฝนและเก็บไว้ใช้อีกด้วย ส่วนหน้าจั่วคือแผงไม้รูปสามเหลี่ยม สร้างขึ้นจากองค์ประกอบของชิ้น ไม้ในลักษณะต่างๆ ใช้ประกบปิดตรงส่วนที่เป็นโพรงของหลังคาทางด้านสกัดหรือด้านขื่อของ เรือน องค์ประกอบทั้งสองอย่างนี้ทำ�หน้าที่ป้องกันลม แดด ฝน และยังช่วยระบายอากาศและ ความร้อนให้กับตัวเรือนบ้านได้เป็นอย่างด วัสดุ ตัวโครงทำ�ด้วยไม และใช้วัสดุได้หลายอย่างในการประกอบเข้าด้วยกัน(มุง) ได้แก กระเบื้อง จาก แฝก และหญ้าคา วัสดุเหล่านี้หาได้ง่ายตามท้องถิ่น ซึ่งแล้วแต่ความ พึงพอใจ และความสะดวกของเจ้าของบ้าน ถ้ามุงด้วยกระเบื้องที่ทำ�จากดินเผาสุก จะสามารถดูดซึมความร้อนได้มากกว่าการมุงด้วยจากหรือแฝก