! THAI HOUSE IN CULTURE | Page 8
7
ใต
ถุน
ประต
และ
หน้าต่าง
มีลักษณะเป็นพื้นที่โล่งใต้เรือนบ้าน เป็นพื้นที่ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น การ
เลี้ยงสัตว์ และเก็บเครื่องมือกสิกรรม นอกจากนั้นยังเป็นพื้นที่สำ�หรับป้องกันน้ำ�ท่วม เนื่องจาก
การเลือกบริเวณที่อยู่อาศัยของคนไทยในสมัยโบราณที่ต้องติดริมน้ำ�เพื่อเอื้ออำ�นวยประโยชน
ต่อตนเอง รวมถึงลักษณะภูมิประเทศของไทยมีฝนตกชุกน้ำ�ท่วมได้ง่าย และยังเป็นการป้องกัน
สัตว์ร้าย
ประตูเป็นทางเข้าออกระหว่างห้องต่างๆ ซึ่งประตูห้องส่วนล่างจะกว้าง ส่วนบนจะสอบเล็กกว่า
เนื่องจากเป็นการสร้างความมั่นคงให้กับการรองรับน้ำ�หนักของฝาผนัง ประตูมีส่วนประกอบคือ
กรอบ เช็ดหน้า บานประตูและเดือย ธรณีประตูและคานคู่ ส่วนประตูรั้วชานจะเป็นทางเข้าออก
ระหว่างตัวเรือนกับบันได ซึ่งมีส่วนประกอบและลักษณะเหมือนกับประตูห้อง แต่มีซุ้มหลังคา
ข้างบน เพื่อกันฝน ทำ�ให้บานประตูไม่ผ
หน้าต่างเป็นส่วนหนึ่งของฝาเรือนที่ติดเป็นส่วนเดียวกัน แต่มีช่องเพื่อให้แสงสว่าง
อากาศและลมผ่านเข้ามาได้ ซึ่งหน้าต่างมีส่วนประกอบคือ กรอบหน้าต่างซึ่งจะมีส่วนล่างกว้าง
ส่วนบนเพื่อเสริมความมั่นคงให้กับฝาบ้าน ตัวบานหน้าต่างเป็นแผงไม้ที่แกะสลักลวดลายหรือ
ฉลุโปร่ง
วัสดุ นิยมใช้ไม้เต็งและไม้แดง
ซึ่งเป็นไม้เนื้อแข็ง ซึ่งทนทานและแข็งแรง ไม้แดงม
คุณสมบัติเหมือนไม้เต็งแต่เมื่อไม้แห้งสามารถนำ�มาไสกบตกแต่งได้ง่าย
บันได
ส่วนประกอบของบันไดประกอบด้วย ลูกขั้นตามแนวนอน แม่บันไดตามแนวตั้ง ซึ่งเป็นส่วน
สำ�คัญที่ใช้ขึ้นไปยังตัวเรือนบ้าน และบันไดแบบเดิมวางพาดกับพื้นและขอบพรึง และถึงกลาง
คืนสามารถชักบันไดขึ้นมาเก็บได้ เพราะช่วยในเรื่องความปลอดภัยทั้งจากสัตว์ร้ายและขโมย
วัสดุ ทำ�จากไม้เนื้อแข็งเพื่อเพิ่มความแข็งแรงและสามารถรองรับน้ำ�หนักได้มาก