5 ปัจจัยขับเคลื่อน สู่ความส�ำเร็จ WP คือ Change / Challenge / Initiative / Service และ Teamwork
้
5 ปัจจัยขับเคลื่อน สู่ความส�ำเร็จ WP คือ Change / Challenge / Initiative / Service และ Teamwork
ผู ้บริหารรับได้ด้วยหรือ
รับได้ค่ะ ตอนนี้ลองท�ำมาครบปีแล้ว ซึ่งอะไรก็ตามที่เป็นแรงบวกต่อคนท�ำงาน คุณชมกมลยินดีตอบรับเสมอ เพราะท่านเชื ่อว่า คนรุ ่นใหม่แยกแยะออกว่าการรับผิดชอบในงาน และการรับผิดชอบในเรื่องส่วนตัวให้ไม่กระทบ กันเป็นเรื ่องที่เขาท�ำได้ และเราก็เชื่อว่าเวลาที่ Fix เกินไปไม่เหมาะกับพฤติกรรมของคนท�ำงาน รุ่นใหม่อีกแล้ว แต่เรามองที่ผลลัพธ์ของงาน ถ้าระหว่างวันในช่วงเวลาท�ำงานของคุณ สามารถประชุม ระดมความคิด ท�ำงานและ จบงานได้ทั้งหมด ก็ไม่จ�ำเป็นต้องมากังวลกับ กฎระเบียบเก่าๆ บางอย่างที่ไม่ก่อประโยชน์ ต่อองค์กร
แนวคิดแบบนี้ค่อนข้างเวิร์คทีเดียว
กับคนรุ ่นใหม่ แต่กับคนรุ ่นเก่าล่ะ
แน่นอนว่า คนรุ่นใหม่จะมีสไตล์การ ท�ำงานที่มุ ่งเน้นเรื่องของความเร็วและไม่ชอบ กฎระเบียบที่ตึงเครียด ขณะที่คนรุ ่นก่อนจะมี ความละเอียดละออในการท�ำงาน รอบคอบ และตอบสนองต่อกฎระเบียบ ตรงนี้อาจจะมี ความต่างกันในเชิงของวัฒนธรรมคนเก่า- คน ใหม่อยู ่บ้างและทุกๆ การเปลี่ยนแปลงก็ต้องมี คนที่เข้าใจและไม่เข้าใจเสมอ
อย่างไรก็ตาม ดิฉันมีความเห็นว่า เวลา เราจะเปลี่ยนแปลงอะไรในองค์กร เราต้อง ค�ำนึงถึงคนทุกคน ดังนั้นจึงพยายามหาจุด ร่วมที่คนในองค์กรยอมรับได้และเมื่อดิฉัน ได้ก้าวเข้ามาท�ำงานที่นี่ และได้สัมผัสไประยะ หนึ่งก็รู้สึกได้ว่า จริงๆ แล้วเราโชคดีมาก ทุก คน- ทุก GEN พร้อมเปิดรับสิ่งใหม่ๆ กล้า ปรับตัว ส่งผลให้ให้เรื่องของช่องว่างทาง วัฒนธรรมที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการปรับ เปลี่ยนแทบไม่มีเลย ทุกคนปรับตัวกับสิ่ง ใหม่ๆ ได้ดี
ประชากรหลักใน WP เป็น GEN ไหนมากกว่ากัน
ปัจจุบันนี้ Baby Boomer มีอยู ่ประมาณ 10 % GEN X ประมาณ 45 % และ GEN Y ประมาณ 44 % ส่วนที่เหลือประมาณ 1 % จะเป็น GEN Z
มีสัญญาณอะไรส่งออกมาบ้าง หลังจากเริ่มมีการปรับแนวทางการบริหาร
HR ไปแล้วบ้าง
พนักงานมีความสุขในการท�ำงานขึ้น เพราะระบบต่างๆ ใน HR ที่ปรับสอดรับกับความต้องการ ของพนักงาน ซึ่งไม่ใช่แค่ความยืดหยุ ่นในเรื่องของ Work / Life Balance เท่านั้น แต่ยังมีเรื่องอื่นๆ อีก เช่น เราได้วางแนวทางให้คนคุยกันมากขึ้นให้เกิดความสบายใจในการท�ำงานร่วมกันกับเพื่อน ร่วมงานและผู ้บังคับบัญชา
อย่างเบื้องต้น เราจะพยายามเข้าไปพูดคุยกับทุกๆ ส่วนงานและทุกระดับ ของพนักงาน เราพร้อมที่จะเปิดเราพร้อมที่จะเปิดกว้างในการรับฟังความ คิดเห็นของแต่ละฝ่าย ซึ่งตรงนี้จะท�ำให้เกิดการเปลี่ยน ยกระดับความคิด มุมมองใหม่ๆ ในการท�ำงานและส่งผลต่อการสร้างสรรค์โซลูชั่นใหม่ๆ เพื่อตอบโจทย์องค์กร ยิ่งไปกว่า นั้น บรรยากาศท�ำงานก็จะดียิ่งๆ ขึ้นด้วย ซึ่งดิฉันเชื่อว่า ถ้าบรรยากาศในบริษัทดีพนักงานมีPassion ในการท�ำงานก็จะท�ำให้เกิดความสุขในการท�ำงานตามไปด้วย
แล้วในกรณีที่บางคน Passion เริ่มโรยราล่ะ
เป็นค�ำถามที่ดีมาก บางคนอยู ่มานานๆ Passion อาจจะหายไปบ้างและการเปลี่ยนแปลงในโลก ธุรกิจก็ท�ำให้เขาต้องท�ำอะไรที่เพิ่มมากขึ้น หรือปรับตัวมากขึ้น
ฉะนั้น หากเป็นองค์กรทั่วไป ก็คือบังคับให้ท�ำ แต่เราจะไม่ท�ำเช่นนั้น เพราะเรามองว่าการบังคับ ไม่ท�ำให้คนสร้างผลลัพธ์ที่ดีต่อองค์กรได้แต่เราจะใช้วิธีเปิดโอกาสให้เขาได้ท�ำในสิ่งที่เขาถนัด Put the right man on the right job ให้เขาแฮปปี ้กับการท�ำงาน
เหมือนก�ำลังวาดเส้นขอบเขตและการเติบโตของงานใหม่ให้กับคนใน WP
ใช่หรือเปล่า
จะพูดเช่นนั้นก็ได้ ซึ่งหากมองภาพปัจจุบันของระบบงานในองค์กรส่วนใหญ่ ซึ่งหมาย ถึงเราด้วยนั้นจะแบ่งออกเป็น 2 สายงาน ได้แก่ สายงานเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน กับ สายงาน งานด้านการบริหาร ถ้าจะให้องค์กรมีประสิทธิภาพและพนักงานอยู ่อย่างมีความสุข คุณต้องรู ว่า ใครพร้อมจะไปสายไหน อย่างบางคนไม่ถนัดงานวางแผนและการบริหารเลย และไม่ชอบ งานแนวเกี่ยวกับการ Present ด้วยแล้ว แบบนี้เขาจะเติบโตอย่างไร ตรงนี้เราก็ต้อง วางเส้นทางใหม่ให้เขาได้เติบโตเป็นผู ้เชี่ยวชาญในสายงานนั้นๆ แทน เพราะมีคนจ�ำนวนมากเหมือน กันที่ไม่อยากเป็นหัวหน้าใคร เป็นต้น
54 B-CONNECT MAGAZINE