ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 48
อัตลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมของเมืองละโว้ และวัด
มหาธาตุน น ั้ ถือว่าเป็นวัดส�ำคัญของเมืองละโว้ต ง ั้ แต
สมัยสมเด็จพระราเมศวรลงมาถึงสมัยอยุธยาตอน
ปลาย
แหล่งโบราณคดีที่วัดพรหมทินใต
บ้านพรหมทินทั้งพรหมทินเหนือและพรหม
ทินใต้เป็นพื น ้ ที ข ่ องเมืองโบราณที่ไม่เห็นแนวคูน ำ �้ คัน
ดินชัดเจน แต่ใช้ทางน�้ำธรรมชาติคือคลองโพธิ์ทอง
ซึ่งต่อกับคลองถลุงเหล็กต่อกับล�ำมะเลง และไปลง
ล�ำน�้ำสนามแจงและแม่น�้ำบางขามในแถบบ้านหม
ตั้งอยู่ทางตะวันออกของเมืองลพบุรี ซึ่งอยู่ในพื้นท
สูงลอนลูกคลื น ่ และอยู เ ่ ชิงเขาวงพระจันทร์ ในอ�ำเภอ
โคกส�ำโรง จังหวัดลพบุรี โดยมีเขาทับควาย ซึ่ง
มีแหล่งแร่เหล็กแบบเฮมาไทต์ตั้งอยู่ห่างไปราว ๔
กิโลเมตร พ.ศ. ๒๕๒๙ กรมศิลปากรเข้ามาส�ำรวจ
และขุดค้นภายในวัดพรหมทินใต้บริเวณด้านข้างพระ
อุโบสถหลังเก่าโดยได้ท ำ � การบูรณะพระอุโบสถหลัง
เก่า ซึ่งเป็นพระอุโบสถในสมัยอยุธยา ซึ่งในพื้นท
เดียวกันนั น ้ พบเศษภาชนะดินเผาตั ง ้ แต่เนื อ ้ ธรรมดา
จนถึงเนื้อแกร่ง เครื่องถ้วยลายครามแบบหมิง ไห
ขอม เครื่องเคลือบจากกลุ่มเตาศรีสัชนาลัย พ.ศ.
๒๕๓๕ มีการขุดพบประติมากรรมท�ำจากหินรูป
พนัสบดีในรูปแบบศิลปะแบบทวารวดี ซึ่งแต่เดิมน่า
จะรองเป็นฐานพระพุทธรูปยืน (กล่าวกันว่าพนัสบด
เป็นสัตว์ที่มีลักษณะผสมกันระหว่างพาหนะ ของ
เทพเจ้าสามองค์ในศาสนาฮินดู คือ มีเขาคล้ายโค
พาหนะของพระอิศวร มีปีกคล้ายหงส์ พาหนะของ
พระพรหม และมีจะงอยปากคล้ายครุฑ พาหนะของ
พระนารายณ์)
ต่อมาภาควิชาโบราณคดีจึงท�ำการวิจัยโดย
ขุดค้นอย่างต่อเนื่องในช่วงปิดภาคการศึกษาโดย
อาจารย์ธนิก เลิศชาญฤทธ์ ต่อเนื่องมาจนปัจจุบัน
วัดพรหมทินใต้ มีอาคารโบสถ์สมัยอยุธยาล้อมรอบด้วยใบเสมา
ที่ทำ�จากหินในรุ่นอยุธยาเช่นกัน ตั้งอยู่ในพื้นที่ราบลอนลูกคลื่น
ใกล้กับเขาทับควาย ซึ่งเป็นแหล่งแร่เหล็กแบบเฮมาไทต์ [He-
matite] เป็นสินแร่เหล็กที่มีการผลิตกันมาตั้งแต่โบราณและ
สันนิษฐานว่าชุมชนบริเวณรอบๆ นี้คงจะผลิตแร่เหล็กส่งเป็น
ส่วยเมืองลพบุรีในสมัยอยุธยาด้วย
48
ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้/ศรีเทพ/เสมา”