ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 34
โดยเหตุนี้ข้าพเจ้าจึงคิดว่าเมืองส�ำคัญของศร
จนาศะก็เช่นเดียวกัน ถ้าเมืองศรีเทพคือศรีจนาศะปุระ
เมืองเสมาที่พบจารึกรอยพระนามของพระราชาธิบด
ของศรีจนาศะก็คือ เมืองส�ำคัญรองลงมาในลักษณะ
เป็นเมืองคู่แฝด
เรื่องของมัณฑละศรีจนาศะ อาจเปรียบเทียบ
ได้ก บ ั เมืองหริภ ญ
ชัย หรือล�ำพูนกับเมืองเขลางค์นคร
หรือล�ำปางของมัณฑละหริภ ญ
ชัยทางลุ ม ่ น� ำ ้ ปิง ซึ ง ่ ก็หา
ได้มีลักษณะเป็นอาณาจักรอย่างที่เชื่อกันอยู่ในทุกวัน
นี้ พัฒนาการของมัณฑละหริภุญชัยนั้นมีอายุไม่ห่าง
จากทวารวดีและศรีจนาศะเท่าใด แต่ว่าอยู่ในแวดวง
ที่ไม่เกี่ยวข้องกับคนมอญหรือระเมง ในประเทศพม่า
เรื่ อ งของเมื อ งเสมาที่ อ� ำ เภอสู ง เนิ น บน
ที่ราบสูงโคราชแสดงให้เห็นว่า เมืองเสมามีความ
สัมพันธ์กับเมืองฝ้ายและบรรดาเมืองโบราณอื่นๆ
ในบริเวณตอนต้นของแม่น�้ำมูล จากล�ำตะคองถึง
ล�ำปลายมาศไปจนจดภูพระอังคาร อันเป็นภูเขาไฟ
ลูกหนึ่งใกล้กับภูพนมรุ้ง และภูปลายบัด
บ้านเมืองบนที่ราบสูงตอนต้นของแม่น�้ำมูล
ดังกล่าวนี้ เป็น บ้านเมืองในอารยธรรมทวารวดีท
นับถือพุทธศาสนาที่ผสมผสานระหว่างพุทธเถรวาท
และมหายาน เช่นเดียวกันกับบ้านเมืองที่พบในลุ่มน�้ำ
เจ้าพระยาในพุทธศตวรรษที่ ๑๓ ลงมา
แต่ความสัมพันธ์ที่ชัดเจนของเมืองเสมาใน
ฐานะเป็นเมือ งใหญ่ของมัณฑละศรีจนาศะ ก็คือ
ผังเมืองและโครงสร้างทางกายภาพคล้ายคลึงกับ
เมืองศรีเทพทั้งขนาดรูปแบบและโบราณสถาน นั่นก
คือ เมืองเสมามีผังเมืองสองชั้นเช่นเดียวกันกับเมือง
ศรีเทพและเมืองฝ้าย มีคูน�้ำคันดินก�ำแพงเมืองคมชัด
ในลักษณะเป็นเมืองที่มีการวางแผน เป็นลักษณะ
เฉพาะของเมืองโบราณที่สูงที่พบทั้งในภาคกลางและ
ภาคอีสานโดยทั่วไป
หรืออีกนัยหนึ่งเป็นรูปแบบของเมืองภายใน
[Hinterland] ไม่ใช่เมืองที่อยู่ในลุ่มน�้ำและที่ราบใกล
34
ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้/ศรีเทพ/เสมา”
ทะเล เช่น เมืองนครชัยศรี เมืองอู่ทอง เมืองศร
มโหสถ และเมืองคูบัว
ความคล้ า ยคลึ ง ของเมื อ งเสมาและเมื อ ง
ศรีเทพ : โครงสร้างทางกายภาพของเมือง
ทั้งเมืองเสมาและเมืองศรีเทพให้ความ
ส�ำคัญกับเมืองชั้นในเป็น พื้น ที่ซึ่งพบโครงสร้าง
ศาสนสถานและแหล่งพิธีกรรม รวมทั้งสระน�้ำใน
ลักษณะที่เป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ชัดเจน ในขณะที่ตัว
เมืองชั้นนอกยังไม่พบโครงสร้างที่เป็นศาสนสถาน
ส�ำคัญ แต่มีสระน�้ำ หนองน�้ำ รวมทั้งเนินดินไม
สม�่ำเสมอที่รองรับโครงสร้างอาคารบ้านเรือนท
สร้างด้วยไม
พระพิมพ์ดินเผา ด้านหน้ามีจารึกภาษาสันสฤกต ตัวอักษร
ปัลลวะ ส่วนด้านหลังเขียนด้วยภาษาจีน / ยังไม่มีการอ่าน
พบที่เมืองศรีเทพ ปัจจุบันอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาต
สมเด็จพระนารายณ์ฯ