ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 27
ทวารวดีขึ้นเป็น “สหพันธรัฐ” หรือ “มัณฑละ
เมืองท่า” เช่นเดียวกับศรีวิชัย และมีความสัมพันธ
ระหว่างกันในทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะมีการรับ
อิทธิพลของพุทธศาสนามหายานร่วมกัน
พุทธศาสนามหายานต่างจากพุทธเถรวาท
ในลักษณะที่เป็นศาสนาและลั ทธิความเชื่อทาง
โลกที่สนับสนุนการขยายตัวของเส้นทางคมนาคม
และการเกิดบ้านเมืองและรัฐใหม่ๆ ขึ น ้ โดยเฉพาะ
ทางคาบสมุทรไทยและอ่าวไทย มีการขยายตัวของ
เส้นทางค้าขายและการคมนาคมทางบก ผ่านจาก
บรรดาเมืองท่าชายทะเลเข้าสู่ดินแดนภายใน โดย
เฉพาะทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ
ซึ่งบ้านเมืองบนเส้น ทางบกนี้ล้วนแต่รับ
นับถือพุทธศาสนาที่มีส่วนผสมและอิทธิพลของ
พุทธมหายานด้วยกันทั้งสิ้น นับเป็นพุทธศาสนา
ร่วมสมัยของบ้านเมืองในสมัยทวารวดีตั้งแต่พุทธ
ศตวรรษที่ ๑๓ เป็นต้นมา
ศรีเทพกับภูมิวัฒนธรรมของการสร้างบ้าน
แปงเมือง
อาณาบริ เ วณที่ เ กิ ด เมื อ งศรี เ ทพเป็ น
ภูมิประเทศที่โดดเด่น แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญา
ของกลุ่มชนที่ท�ำให้เกิดเมืองศรีเทพขึ้นมา คือเป็น
บริเวณเนินดินตอนใหญ่เป็นเกาะอยู่ท่ามกลาง
ที่ราบลุ่มน�้ำท่วมถึงของลุ่มน�้ำป่าสักตอนกลางที่ม
ทิวเขาขนาบอยู ส ่ องข้างทางตะวันออกและตะวันตก
และมีกลุ ม ่ เขาลูกโดดอยู ท ่ างใต้ค น ั่ อยู ร ่ ะหว่างพื น ้ ท
ในเขตอ�ำเภอศรีเทพ ซึ ง ่ อยู ท ่ างเหนือและพื น ้ ที ล ่ าด
ต� ำ ่ ในเขตอ�ำเภอล�ำนารายณ์ อันเป็นบริเวณที ม ่ ก ี าร
สร้างเขื่อนป่าสักชลสิทธ
ระดับสูงต�่ำของภูมิประเทศเป็นที่ลาดจาก
ระดับความสูงทางเหนือลงใต้ทางหนึ ง ่ กับที ล ่ าดจาก
ภูเขาทางตะวันออกไปทางตะวันตก จากที ล ่ าดทาง
เหนือเป็นเส้นทางที่ล�ำน�้ำป่าสักไหลผ่านลงมาที่ลาด
ลุ่มทางด้านตะวันตกของที่ดอนเกาะเมืองศรีเทพ ณ
บริเวณนี้เป็นที่ลุ่มต�่ำล�ำน�้ำป่าสัก แตกออกเป็นสอง
แพรก คือ ล�ำน�้ำป่าสักและล�ำน�้ำสนธิ รับน�้ำที่ไหลลง
จากที ส ่ ง ู และภูเขาทางตะวันออกผ่านเกาะเมืองศรีเทพ
มาลงที่ลุ่มต�่ำของล�ำน�้ำใหญ่ทั้งล�ำป่าสักและล�ำสนธ
ทางตะวันตก
ทั้งหมดนี้ได้ท�ำให้พื้นที่ลาดลุ่มรอบเกาะเมือง
ศรีเทพกลายเป็นพื้นที่ชุ่มน�้ำและน�้ำท่วมถึงในฤดูฝน
แต่ที่ส�ำคัญก็คือเกิดน�้ำซับใต้พื้นดินลูกรังในที่ดอน
เกาะเมืองศรีเทพ บรรดาล�ำห้วยและทางน�้ำที่ไหลลง
จากเขาและที่สูงทางตะวันออกผ่านเข้ามาใกล้ดอน
เกาะนี้เป็นทางน�้ำที่ได้ถูกชักน�ำมาเข้าคูเมืองศรีเทพท
มีลักษณะเป็นอ่างเก็บน�้ำชนิดหนึ่ง [Tank Moat] เช่น
เดียวกันกับบรรดาคูน ำ �้ รอบชุมชนโบราณสมัยยุคเหล็ก
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บริเวณดอนเกาะที่เมืองศรีเทพตั้งอยู่ก็เป็นท
ดอนลูกรังที ส ่ ามารถขุดเป็นสระเป็นหนองเก็บน� ำ ้ ไว้ใช
ในการอุปโภคบริโภคได้ดี และทั้งอาณาบริเวณก็เป็น
ป่าโปร่งมีความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นแหล่งป่า
โคกน�้ำท่วมไม่ถึง เหมาะกับการตั้งถิ่นฐานบ้านเมือง
ท�ำให้มีการตั้งถิ่นฐานของชุมชนกระจายไปในที่ต่างๆ
ของดอนเกาะ รวมทั ง ้ การขุดสระน� ำ ้ เล็กและใหญ่เพื อ ่
การกักเก็บน� ำ ้ เมืองศรีเทพตั ง ้ อยู ท ่ างตอนใต้ของดอน
เกาะเป็นที่รับน�้ำจากที่สูงทุกด้านก่อนที่จะปล่อยผ่าน
ลงที ล ่ ม ่ ุ ต� ำ ่ ทางตะวันตกและทางใต้ แต่ท ส ี่ ำ � คัญบริเวณ
ตัวเมืองอยู่ในต�ำแหน่งที ล ่ ำ � น� ำ ้ ล�ำห้วยหลายสายไหลลง
จากเขาและที ส ่ ง ู ทางตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านมาเข้า
คลองคูเมืองทางด้านตะวันออกและด้านเหนือ
ส่วนพื น ้ ที่ในดอนเกาะทางเหนือของเมืองเป็น
พื้นที่กว้างใหญ่สูงต�่ำ เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของชุมชน
และการท�ำไร่นาในรัศมีราวสามกิโลเมตรจากตัวเมือง
นับเนื่องเป็นปริมณฑลของนครศรีเทพ บริเวณนี้มีทั้ง
ร่องรอยของชุมชน สระน� ำ ้ อ่างเก็บน� ำ ้ และการจัดการ
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ
27