ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 25

เส้นทางทะเลอ้อมแหลมมลายูคือพัฒนาการทางเศรษฐกิจ การเมือง ทำ�ให้เกิดบ้านเมืองที่เป็นเมืองท่าชายทะเล โดยเฉพาะ สองฝั่งแหลมมลายูและเกาะสุมาตรา ชวา ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ ก็มีการรวมตัวกันเป็นสหพันธรัฐศรีวิชัยขึ้น โดยมีเมือง สำ�คัญที่เกาะสุมาตราและเกาะชวา เช่น ที่อาริกันเมดุต และบูโรพุทโธ เป็นยุคที่มีการน�ำศาสนาพุทธแบบมหายาน และฮิ น ดู เ ข้ า มาผสมผสานเป็ น ความเชื่ อ ทาง ศาสนาของผู้คนในบ้านเมือง แลเห็นการเกิดเป็น อาณาจักรของเมืองพระนครในกัมพูชาที่ส่งกระแส ทางวั ฒ นธรรมที่ เ ป็ น ศิ ล ปวั ฒ นธรรมเข้ า มายั ง ดินแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง ของประเทศไทย โดยเฉพาะในลุ่มน�้ำเจ้าพระยานั้น “เมือง ละโว้” ได้กลายมาเป็นศูนย์กลางทางศิลปวัฒนธรรม ที่ ได้รับอิทธิพลจากขอมกัมพูชา ทั้งด้านการเมือง และวัฒนธรรมมากกว่าบรรดาเมืองอื น ่ ๆ ทางลุ ม ่ น� ำ ้ เจ้าพระยาฟากตะวันตก เช่น นครชัยศรี อู ท ่ อง และ คูบัว ซึ่งเป็นนครรัฐร่วมมัณฑละเดียวกัน มัณฑละหรือสหพันธรัฐภายใน : “ศรีจนาศะ” สมั ย ทวารวดี เ กิ ด ขึ้ น แต่ พุ ท ธศตวรรษท ๑๒ อันเป็นเวลาที่เส้นทางสายไหมทางทะเลจาก ตะวันออกกลางและอินเดียมายังคาบสมุทรไทยและ มลายู เพื่อขนถ่ายสินค้าแลกเปลี่ยนไปยังเวียดนาม และจีน เปลี ย ่ นจากการเดินเรือจากอินเดียมาขึ น ้ บก ทางฝั่งทะเลอันดามัน แล้วขนถ่ายสินค้าโดยทางบก ข้ามคาบสมุทรมายังชายฝั่งทะเลจีนในอ่าวไทย การขนถ่ายสินค้าข้ามคาบสมุทรนั้นต้อง อาศัยเรือสินค้าสองชุด ชุดแรกคือจากฝั ง ่ ทะเลตะวัน ออกของอินเดีย ข้ามมหาสมุทรอินเดียมาขึ้นบก ทางฝั่งทะเลอันดามันของคาบสมุทรมลายู แล้วขน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 25