ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ /ศรีเทพ /เสมา ในมัณฑละแห่งศรีจนาศะ ละโว้ / ศรีเทพ / เสมา | Page 23

จาก “ละโว้” เป็น “ลพบุรี” เมืองละโว้ยังด�ำรงอยู่และดูกว้างขวางกว่า เดิมในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๕-๑๖ ลงมา โดยเรียก ว่า “ยุคลพบุรี” ถ้าหากน�ำเอาเส้นทางคมนาคม จากเมืองละโว้ไปยังดินแดนภายในที่เป็น มณฑล ศรีจนาศะตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้น คือจากละโว ไปศรีเทพ เมืองเสมา ไปยังเมืองฝ้าย และกลุ่มบ้าน เมืองในลุ ม ่ น� ำ ้ ล�ำปลายมาศ ภูพระอังคาร เข้าสู พ ่ น ื้ ท เขตวัฒนธรรมขอมในเขตพนมรุ ง ้ และภูปลายบัด ใน ขณะเดียวกันอิทธิพลของสังคมและวัฒนธรรมขอม สมัยเมืองพระนครแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๕ ลงมา ก แพร่ขึ้นมาตามอาณาบริเวณของมัณฑละศรีจนาศะ ยังลุ่มน� ำ ้ ป่าสักและลพบุรี เหตุน ้ ี จึงพบร่องรอยของ โบราณสถานและศาสนสถาน ศาสนวัตถุขอมใน เมืองส�ำคัญ เช่น “เมืองเสมา เมืองศรีเทพ และ เมืองละโว้” ในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน ในขณะ เดียวกัน ก็แลเห็นการเติบโตของบ้านเมืองแต่สมัย พุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๗ ลงมา ในรูปที่เกิดเป็น นครรัฐใหม่ๆ ขึ้น เช่น เมืองพิมาย เมืองพนมรุ้ง เมืองศามพูกะ ฯลฯ พอขึ้นต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๘ คือ ราว พ.ศ. ๑๗๐๐ ลงมา มัณฑละทวารวดีและศรีจนาศะก็สลาย ตัวไป มีการรวมกลุ่มของนครรัฐอิสระใหม่ๆ เหล่า นี้ขึ้นเป็นกลุ่มเมืองแบบมัณฑละใหม่หลายแห่ง เช่น ในลุ่มน�้ำเจ้าพระยาที่จดหมายเหตุจีนกล่าวถึงรัฐ ใหญ่ ๒ แห่งที่ส่งทูตไปเมืองจีน คือ “หลอฮก” และ “เสียม” “หลอฮกคือละโว้” ในขณะที่ “เสียม” ม คนตีความกันต่างๆ นานาว่า เป็น “สุโขทัย” โดย ไปผูกมัดกับเรื่องราวการเคลื่อนย้ายของชนชาต ไทยจากยูนนานเข้ามาดินแดนประเทศไทย ที่เป็น อาณานิคมของอาณาจักรขอมเมืองพระนคร เมือง สุโขทัยในลุ ม ่ น� ำ ้ ยม-น่านถูกยึดครองโดยชนชาติไทย แล้วตั ง ้ เป็นรัฐอิสระแผ่อ ำ � นาจมาขับไล่ขอมซึ ง ่ อยู่ใน ลุ่มน�้ำเจ้าพระยาที่มีเมืองละโว้เป็นศูนย์กลางแล้ว สร้างเมืองอยุธยาขึ น ้ มาแทนที่ สุโขทัยกลายเป็นราช อาณาจักรที แ ่ ผ่อ ำ � นาจไปปกครองทั ง ้ ประเทศ จนถึง เมืองนครศรีธรรมราชจรดคาบสมุทรมลาย แต่ จ ากการศึ ก ษาค้ น คว้ า ทางภาคสนาม ของข้าพเจ้า ไม่เคยเชื่อถือและยอมรับเรื่องการ เคลื่อนย้ายของชนชาติไทยจากยูนนานเข้ามาปราบ ขอม และสร้างสุโขทัยและอาณาจักรไทยขึ้นแทนท ในดินแดนประเทศไทยเช่นนี้เลย เพราะเป็นการ ตีความหลักฐานทางประวัต ศ ิ าสตร์จากแนวคิดเรื อ ่ ง ชาตินิยมที่มีมาแต่สมัยรัชกาลที่ ๖ แล้วขยายผลจน ฟุ ง ้ เฟ้อในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบ ล ู สงคราม เป็น นายกรัฐมนตรี และเชื่อกันมาจนถึงทุกวันน ท�ำนองตรงข้าม ในที่นี้ข้าพเจ้าเชื่อว่าบ้าน เมืองในดินแดนประเทศไทย โดยเฉพาะในลุ่มน�้ำ เจ้าพระยาที่มี “มัณฑละทวารวดี-ศรีจนาศะ” ด�ำรง อยู่ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๕ นั้น เกิดการ เปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคของการเกิดบ้านเมืองใหม ที่เป็นนครรัฐและมัณฑละใหม่แต่พุทธศตวรรษท ๑๖ ลงมา อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจ-การเมืองของภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงเหนือ ทั้งในหมู่เกาะและคาบสมุทรที่สัมพันธ กับการล่มสลายของมัณฑละศรีวิชัย สหพันธรัฐ เมื อ งท่ าในหมู ่ เ กาะและชายทะเลที่ ผู ก ขาดเส้ น ทางการค้าทั้งทางทะเลและทางบก ความส�ำคัญของศรีวิชัยก็คือเป็นยุคที่มีการ แผ่พุทธศาสนามหายานขึ้นไปตามบ้านเมืองต่างๆ ตามเส้นทางการค้าแต่พ ท ุ ธศตวรรษที่ ๑๓-๑๔ หลัง พุทธศตวรรษที่ ๑๔ มัณฑละศรีวิชัยถูกท�ำลายโดย การรุกของพวกโจฬะทมิฬจากอินเดียใต้ และการ แพร่หลายของศาสนาฮินดูที่เข้ามาแทนที่ ท�ำให บรรดาบ้านเมืองซึ่งเกี่ยวข้องไม่ว่าทั้งทางภาคใต ของไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และบ้านเมือง มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 23