เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น ฯลฯ เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตราฯ | Page 61
ภาพมุมกว้างที่เขาสามร้อยยอด
กล่าวว่ามีพ่ อค้าชาวเปอร์เซียที่ ไปตั้งถิ่นฐานและ
ร�่ำรวยในเมือ งมะริด เมื่อพักที่มะริดได้สองสามวัน
ก็เดินทางข้าม ล�ำน�้ำตะนาวศรี เมืองตะนาวศรีเป็น
เมืองอุดมสมบูรณ์ม ค ี นราวห้าหกพันครัวเรือน มีชาว
สยาม มุสลิมอินเดีย ฮินดู และฝรั่ง เป็นเมืองตั้งใน
หุบเขา
จากนั น ้ ลงเรือในแม่น ำ �้ ตะนาวศรีมาถึง เมือง
จะลัง [Jalang - ซึ่งน่าจะเป็นชื่อเดียวกับ Jalinga
ในแผนที่ของชาวตะวันตก] พระเจ้ากรุงสยามให
ช้างพลายมาหลายเชือกเพื่อเดินทางข้ามเทือกเขา
ตะนาวศรี จาก Jalang ใช้เวลา ๑๘ วันจึงถึงเมือง
เพชรบุรีซึ่งมีข้าหลวงมุสลิมออกมาคอยต้อนรับ
คณะราชทูต จอห์น ครอว์เฟิร์ด บันทึก
ว่าจาก Jalinga จะข้ามเส้นทางน�้ำและลงไปตาม
หุบเขาที ม ่ ก ี ระแสน� ำ ้ แรงไปสู เ ่ มืองส�ำคัญซึ ง ่ สังฆราช
ปัลเลอกัวซ์เรียกว่า “พริบพรี” หรือเพชรบุรี
๒. เมื่อเดิน ทางจากมะริดไปสู่ Jalinga
แล้วข้ามเขาตะนาวศรีเพื่อเข้าสู่เมือง “ปราณ” ซึ่ง
นักเดิน ทางจะลงเรือจากปากน�้ำปราณไปยังกรุง
ศรีอยุธยา ปราณอยู่บนเส้นทางบกระหว่างเมืองกุย
และเพชรบุร
๓. เส้นทางสายที่สามคือจาก Jalinga ไป
สิ้นสุดที่ “เมืองกุย” เป็นเมืองที่ติดกับบริเวณเขา
สามร้อยยอดด้านที่ติดกับทะเลและมีเกาะหินน้อย
ใหญ่จ�ำนวนมาก Kui Point ดูเหมือนจะเป็นสถาน
ที่สุดท้ายที่เรือเดินทะเลเข้ามาแวะจอดเช่นที่ท�ำกัน
ในสมัยโบราณก่อนจะใช้เรือจากจุดนี้เดินทางไปสู
แหลมญวนหรือจะเดินทางเข้าสู่กรุงศรีอยุธยา
ซึ่งมีช่องเขาที่นักเดินทางสมัยอยุธยาเรียก
ว่า “เส้นทางสายกุย” โดยใช้เวลา ๑๔ วันเดินทาง
จาก Jalinga ถึงเมืองกุย และใช้เวลาเดินทางบก
จากกุยถึงปราณใช้เวลา ๑๐ วัน จากปราณถึงเพชร
ใช้เวลา ๕ วัน ส่วนสังฆราชแบริทใช้เวลา ๒ วันถึง
ปากน�้ำเจ้าพระยา จากปากน�้ำเจ้าพระยาใช้เวลา
๕-๖ วันถึงอยุธยา [Relation du Voyage de Mon-
seigneur de Berythe&C, 1683]
๔. จากเมืองมะริดถึง Jalinga จากนั้น
ตัดข้ามเขาเข้าไปยัง “ชะอ�ำ” บริเวณชะอ�ำนี่เอง
ที่ปรากฏในแผนที่ของชาวตะวันตก โดยระบุเป็น
ต� ำ แหน่ ง ส� ำ คั ญ อย่ า งเห็ นได้ ชั ด คื อ ต� ำ แหน่ ง ของ
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ
61