เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น ฯลฯ เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตราฯ | Page 60

คาบสมุทรตอนบนสุดเริ่มส�ำคัญมาตั้งแต่ยุคนั้นเช่น กัน เมื อ ่ ถึงสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวยิ่งมีการลงทุนขุดคลองลัดเลียบคลองเดิม คือคลองภาษีเจริญและคลองด�ำเนินสะดวก ซึ่งเป็น คลองขุดตรงกว่าคลองด่านและคลองสุนัขหอนที่ม แต่เดิม แต่กาลเวลาแห่งความเปลี่ยนแปลงท�ำให เมืองมะริดและตะนาวศรีกลายเป็นสิทธิขาดของ อังกฤษโดยสมบูรณ์ รวมทั้งทางรถไฟกรุงเทพฯ- เพชรบุร ก ี ็ได้ท ำ � หน้าที น ่ แ ี้ ทนแม่น ำ �้ ล�ำคลองต่างๆ เส้น ทางเดินทางและเส้นทางการค้าเก่าเหล่านี้จึงเหลือ แต่ร อ ่ งรอยบางๆ และความทรงจ�ำแต่เพียงเล็กน้อย จากเมืองท่ามะริดในฝั่งอันดามันสู่เมืองเพชรบุร และกรุงศรีอยุธยาหรือกรุงเทพฯ บั น ทึ ก การเดิ น ทางของนายแพทย์ อิ ง เกิลเบิตร์ แกมเฟอร์ เมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๓ ในรัชกาล สมเด็จพระเพทราชา เดินทางจากเมืองปัตตาเวีย ไปสยามที่กรุงศรีอยุธยา ตอนหนึ่งกล่าวถึงการเดิน ทางโดยพ่อค้าคนไทยเป็นผู้บอกระยะทางจากเมือง นครศรีธรรมราชต้องผ่านสามร้อยยอด เมืองปราณ ชะอ�ำ เหนือขึ้นไปคือเมืองเพชรบุรี ผ่านยี่สาร แม กลอง ท่าจีน จากนั้นจึงถึงปากน�้ำเจ้าพระยา ส่วน ขากลับก็ออกเดิน ทางในช่วงฤดูฝน จากปากน�้ำ เจ้าพระยาไปที่เกาะสีชังทางตะวันออก แล่นเรือตัด ข้ามอ่าวไปแถวๆ สามร้อยยอดทางฝั ง ่ ตะวันตก เรือ ส�ำเภาหรือก�ำปั่นใหญ่ๆ มักใช้วิธีนี้คือข้ามอ่าวไปมา โดยไม่ต้องเลียบชายฝั่งไปทางแสมสาร จุดหมาย คือเกาะต่างๆ ที ป ่ ลายแหลมญวนต่อจากนั น ้ จึงเลียบ ชายฝั่งญวนไปจนถึงกวางตุ้งในเมืองจีน  และในบันทึกการเดินทางของคณะทูตจาก อังกฤษ จอห์น ครอว์เฟิร์ด เข้ามาสยามเมื่อราว พ.ศ. ๒๓๖๕ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ 60 หล้านภาลัย แม้เวลาผ่านไปถึงกว่า ๑๓๐ ปี การ เดินทางทั้งขาเข้าและขาออกก็ยังใช้เส้นทางเดียว กับหมอแกมเฟอร เมื่อท�ำความเข้าใจจากบันทึกต่างๆ ของ คณะทูตพ่อค้า นักเดินทางในสมัยกรุงศรีอยุธยา และช่วงต้นกรุงเทพฯ และเอกสารของแวริงตัน สมิท กล่าวเป็นการเดินทางตามเส้นทางดังกล่าว เป็นเส้นทางการค้าเก่าในยุครัชกาลที่ ๕ โดยเดิน ทางบกผ่านเทือกเขาตะนาวศรีจากเมืองท่ามะริดได รับความนิยมอย่างสูงส�ำหรับการขนส่งสินค้าและนัก เดินทาง แม้จะมีสัตว์ร้าย แต่ใช้เวลาน้อยกว่าและ ปลอดภัยจากพวกโจรสลัดตามช่องแคบมะละกา โดยสังเคราะห์จากข้อมูลทางประวัติศาสตร์และ สันนิษฐานเส้นทางออกมาเป็น ๔ สายส�ำคัญ ใช้เป็น เส้นทางการค้าโบราณโดยเฉพาะช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๒-๒๓ โดยปกติการเดินทางจากมะริดไปอยุธยา ด้วยความช่วยเหลือจากเจ้าเมืองและอ�ำนาจที่ส่วน กลางโดยเฉลี ย ่ จะใช้เวลาประมาณ ๑๐–๑๖ วัน เส้น ทางดังกล่าว มีรายละเอียด ดังน ๑. แผนที ข ่ องชาวตะวันตกทั ง ้ ในสมัยอยุธยา และกรุงเทพฯ บันทึกไว้เช่นเดียวกับคณะราชทูตชาว เปอร์เซีย คณะราชทูตจากฝรั ง ่ เศส และคณะราชทูต ของครอว์เฟิร์ดจากอังกฤษในสมัยรัชกาลที่ ๒ โดย คณะราชทูตจากเปอร์เซียบันทึกว่า เส้นจากมะริด ที่อยู่ชายฝั่งทะเลเดินทางไปทางตะวันออกหรือแล้ว ข้ามแม่น�้ำตะนาวศรีไปยังเมืองที่ชื่อ Jelinga หรือ Jalinguer ที่อยู่บนคลองสะรอหรือซาระวะ [Tsa- raw, Sarawa] ซึ่งปรากฏในแผนที่สมัยอยุธยาอีก หลายชุด ส่วนคณะของคณะราชทูตจากเปอร์เซีย จากเอกสาร “ส�ำเภากษัตริย์สุไลมาน” อิบนี มูฮัม หมัด อิบรอฮิม ล่ามใน คณะราชทูตเดินทางมาเยือน เป็นการตอบแทนคณะทูตของสมเด็จพระนารายณ์ฯ ในช่วง พ.ศ.​ ๒๒๒๘ เดินทางเมืองมัทราส (เจนไน) เดินทางผ่านหมู เ ่ กาะอันดามันไปขึ น ้ ท่าที เ ่ มืองมะริด เที่ยวตามตำ�นาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตรา-เจ้าลาย-ตาม่องไล่-เจ้ากรุงจีน