เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น ฯลฯ เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตราฯ | Page 55

ถึงปากจั่น เมืองกระบุรีก็เดินทางไปตามล�ำน�้ำท ชุมพรนี้ หรือจะเดินทางต่อไปก็ลงไปตามเส้นทาง รายทางจนถึงปลายแหลมมลายู ส่วนในทางกลับกัน จากบันทึกต่างๆ พอ ประมวลได้ว่า หากเดินเรือเลียบชายฝั่งมาจากทาง คาบสมุทรมลายูจะแวะเติมน� ำ ้ จืดหรือหลบลมที ส ่ าม ร้อยยอดหรือกุยพอยต์ เลียบชายฝั ง ่ ผ่านเขาเจ้าลาย จนถึงแหลมหลวงหรือแหลมผักเบี ย ้ จากบริเวณนี จ ้ ะ แล่นห่างฝั่งโคลนตัดตรงไปปากน�้ำเจ้าพระยาหรือ หากไม่เข้ากรุงศรีอยุธยาหรือกรุงเทพฯ เกาะสีชัง คือจุดหมาย หลังจากเติมน�้ำจืดที่แถวสามร้อยยอด กุยบุรี ต่อจากนั้นจึงค่อยๆ เลียบชายฝั่ง มีที่หมายท หมู่เกาะชายฝั่งกัมพูชาและเวียดนามในปัจจุบัน บริเวณปากน�้ำท่าจีนและแม่กลองพื้น ท ส่วนใหญ่เป็นอ่าวโคลนเพราะพื้น น�้ำเต็มไปด้วย โคลนตมจากการสะสมของตะกอนแม่น�้ำจ�ำนวน มากที่ ไหลผ่านภูเขาและพื้นที่สูงของภูมิภาคตะวัน ตก หากไม่ใช่เรือท้องถิ่นหรือมุ่งหมายจะเดินทางส ปากน�้ำแม่กลองหรือปากน�้ำท่าจีนโดยตรง แต่จะม เส้นทางน�้ำซึ่งเป็นล�ำคลองสายเล็กๆ ภายในที่เป็น ทั้งคลองขุดและคลองธรรมชาติใช้เป็นเส้นทางเดิน ทางของคนท้องถิ น ่ เดินทางเข้าสู ก ่ รุงเทพฯ หรือกรุง ศรีอยุธยา อนึ่ง เกาะสีชัง เขาเจ้าลาย และเทือกเขา สามร้อยยอด เป็นที่หมายส�ำคัญของการเดินเรือ เลียบชายฝั่งไม่ว่าจะอยู่ในยุคสมัยใดปรากฏอยู่ใน แผนที โ ่ บราณทั ง ้ ของไทยและของชาวต่างชาติ และ เมื อ ่ พิจารณาภาพแผนที โ ่ บราณของสมุดภาพไตรภูม สมัยกรุงธนบุรี บริเวณอ่าวไทยจะเห็นต�ำแหน่งของ เกาะสีชังและสามร้อยยอดตั้งอยู่เยื้องกันเป็นจุด สังเกต [Landmark] ที่เห็นชัดเจนบนแผนที่การเดิน ทางแบบไทย ซึ่งแตกต่างอย่างมากจากแผนที่ของ ชาวตะวันตก การเดินทางข้ามคาบสมุทรตอนบนสุด การเดินทางข้ามคาบสมุทรเป็นหนทางเพื่อ ย่นเวลาและระยะทางระหว่างฝั่งอันดามันและอ่าว ไทย โดยไม่ต้องรอลมมรสุมอ้อมลงไปเข้าช่องแคบ มลายู เส้นทางข้ามคาบสมุทรสยามมีหลายเส้นทาง แต่ตอนบนสุดคือเส้นทางระหว่างเมืองท่ามะริดที ฝ ่ ง ่ ั อันดามันและเมืองชายฝั่งไปจนถึงหัวเมืองใหญ่ท เพชรบุรีทางอ่าวไทย ในยุคที่การพาณิชย์นาวีเฟื่องฟู อันเป็น นิยามจากนักวิชาการผู้ศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ยุคโบราณ แอนโทนี รีด กล่าวว่า...ในระหว่าง คริสต์ศตวรรษที่ ๑๕-๑๗ อันเป็นยุคฟื น ้ ฟูศ ล ิ ปวิทยา การและลั ทธิทุน นิยมตอนต้นก�ำลังเปลี่ยนแปลง เขาตาม่องไล่และอ่าวประจวบ บางนางรมในอดีต มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 55