เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น ฯลฯ เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตราฯ | Page 52
ที่เป็นแนวเขารูปตะปุ่มตะป�่ำ แห่งที่ “เขาเจ้าลาย”
ปัจจุบันเรียกว่าเทือกเขานางพันธุรัต ที่เมืองชะอ�ำ
ในแผนที่ชาวตะวันตกเขียนว่า Chulai Point หรือ
ต�่ำลงมาแถว เขาสามร้อยยอด ส่วนใหญ่ในแผนท
เขียนชื่อต่างๆ กันไป แต่บริเวณจุดหมายนั้นคือ
บริเวณแหลมศาลาที ม ่ เ ี ขาใหญ่และถ� ำ ้ พระยานครจะ
ถูกเรียกว่า Kui Point ส่วนเมืองกุยในล�ำน�้ำกุยที่อย
ไม่ไกลก็เป็นเส้นทางผ่านเมื อ ่ เดินทางข้ามคาบสมุทร
มาทางฝั่งตะนาวศรีทางทะเลอันดามัน
ทั ง ้ สองแห่งมีเทือกเขาโดดเด่นเป็นจุดสังเกต
ได้ง่าย เรียกว่าภูมิประเทศแบบคาสต์ [Karst To-
pography] ที่เป็นจุดหมายตามชายฝั่งบริเวณอ่าว
ไทยหลายๆ แห่ง คือ เขาเจ้าลาย สามร้อยยอด
เกาะหลัก (อ่าวประจวบ) แหลมช่องพระ (ปะทิว
ชุมพร) ซึ ง ่ ชาวเรือและคนท้องถิ น ่ ให้ความหมายเพื อ ่
จดจ�ำจุดสังเกตหรือ Landmark แต่ละแห่งด้วยการ
เล่านิทานเรื อ ่ งตาม่องไล่ ยายร�ำพึง นางยมโดย เจ้า
ลาย และเจ้ากรุงจีน แต่การให้เหตุผลแบบคนตะวัน
ออกเช่นนี ก ้ ลายเป็นเรื อ ่ งน่าขบขันของนักส�ำรวจชาว
ตะวันตกไป
หลังจากนั้นจึงเดินเรือเลียบชายฝั่งลงใต้ต่อ
ไป หรือหากต้องการไปทางอ่าวตังเกี๋ยเลียบชายฝั่ง
กัมพูชาก็จะเดินเรือสลับฟันปลา จากปากน� ำ ้ ออกไป
ที่เกาะสีชังแล้วข้ามอ่าวมาที่สามร้อยยอดหรือเมือง
กุย แล้วจึงตัดข้ามอ่าวอีกครั้งมุ่งไปทางตะวันออก
มีท ห ี่ มายทางเกาะฟูก ว ๊ กและเกาะเล็กๆ ปลายแหลม
ญวนและปากน�้ำโขงของเวียดนามในปัจจุบัน
เช่นกัน หากเดินเรือเลียบชายฝั่งจากทาง
คาบสมุทรสยาม-มลายู ก็จะแวะเติมน�้ำจืดหรือ
หลบลมที ส ่ ามร้อยยอดเมืองกุยบุร ซ ี ง ึ่ มีบ ง ึ น� ำ ้ จืดใหญ
ภายใน แล้วจึงเลียบชายฝั่งผ่านเขาเจ้าลายจนถึง
แหลมหลวงหรือแหลมผักเบี้ย จากบริเวณนี้จะแล่น
ห่างฝั่งโคลนตัดตรงไปปากน�้ำเจ้าพระยา
และหากจุ ด มุ ่ ง หมายไม่ เ ข้ า ปากน�้ ำ
52
เจ้าพระยามาที่เมืองหลวง ถ้าเป็นเรือส�ำเภาจีนล�ำ
ใหญ่ที่เดินเรือประจ�ำขนาด ๔-๕ เสากระโดง จะขึง
ใบตึงแล่นตัดข้ามอ่าวจากสามร้อยยอดเลยโดยไม
ผ่านทางปลาย แหลมแสมสาร หรือในแผนที ข ่ องชาว
ตะวันตกมักเรียกว่า Cape de Liant ซึ่งเป็นการทับ
ศัพท์ค ำ � ว่า “แหลม” ที ป ่ ลายแหลมแสมสารมีคลื น ่ ลม
แรง หากไม่ช ำ � นาญก็จะเป็นอันตราย จึงมีท ห ี่ มายอยู่
แถวเกาะลักษณะแคบยาวหรือ Puli Panjung แปล
ว่า เกาะยาว ในภาษามาเลย์ ปัจจุบันน่าจะเป็น
ต�ำแหน่งของ เกาะฟูก๊วก [Phu Quoc] และ Puli
Ubi ที่เป็นเกาะเล็กๆ ปลายแหลมญวนในภาษามา
เลย์หมายถึงเกาะมันเทศ และ Puli Condor หรือ
Con dao Island บริเวณปากแม่น�้ำโขงพอดี แล้ว
แล่นต่อไปยังชายฝั ง ่ เวียดนามตอนกลาง อ่าวตังเกี ย ๋
และจีนตอนใต้หรือญี่ปุ่น
หรือหากต้องการไปทางหมู่เกาะทางเกาะ
ชวาและสุมาตราหรือหมู เ ่ กาะต่างๆ แถบฟิล ป ิ ปินส์ ก
จะตั ง ้ ต้นที แ ่ หลมญวนนี เ ้ ดินทางข้ามทะเลออกไป ซึ ง ่
เส้นทางนี้เรือก�ำปั่นของชาวตะวันตกหรือเดินสมุทร
ขนาดใหญ่มักจะใช้เลียบหมู่เกาะไปทางช่องแคบ
มะละกาแล้วเดิน ทางไปยังฝั่งมหาสมุทรอินเดีย
ต่อไป
ค�ำว่า ปูเลาหรือปูโล [Pulau, Pulo] ที ป ่ รากฏ
ในแผนที่ชาวตะวันตกตั้งแต่สมัยอยุธยาเป็นค�ำใน
ตระกูลภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ที่ใช้กันทั่วไปใน
ภาษามาเลย์ แปลว่า เกาะ เป็นร่องรอยของชาวบูก ส ิ
ผู้เป็นนักเดินทางทางทะเลในน่านน�้ำนี้ก่อนกลุ่มอื่น
ใด ภายหลังจึงเปลี่ยนเป็นค�ำสัญลักษณ์ว่า Is หรือ
ค�ำ Island จากนั้นก็เลียบชายฝั่งลงคาบสมุทรก็จะ
แล่นเรือห่างฝั่งพอประมาณด้วยลมมรสุม
วิชาการเดินเรือเลียบชายฝั ง ่ คงต้องยกให้จ น ี
ศาสตราจารย์คาร์ล ออกัสตัส ฟรีดริค กุตสลาฟฟ
บันทึกไว้เมื่อราว พ.ศ. ๒๓๗๑ กล่าวถึงลูกเรือและ
การเดิน เรือเลียบชายฝั่งของส�ำเภาจีน ที่มีต�ำรา
เที่ยวตามตำ�นาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตรา-เจ้าลาย-ตาม่องไล่-เจ้ากรุงจีน