เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น ฯลฯ เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตราฯ | Page 46
พงตึกท่ามะกา คูบ ว ั ราชบุรี และถ้าจะพบแถบชายฝั ง ่
ทะเลแถบเมืองปราณบุรีในเส้นทางเดินทางโบราณ
เช่นนี้ก็ไม่น่าแปลกใจแต่อย่างใด
เหนือซุ ม ้ คูหาขึ น ้ ไปด้านบนเห็นชัดว่าเคยเป็น
เจดีย ฐ ์ านทรงสี เ ่ หลี ย ่ มแล้วก่อขึ น ้ มาเป็นแปดเหลี ย ่ ม
รองรับด้านบนที ห ่ ก ั หายไปน่าจะเป็นองค์ระฆัง แบบ
ที่อาจารย์ประยูร อุลุชาฎะเรียกว่า เจดีย์แบบอโยธ
ยา-สุพรรณภูมิ แต่มีการซ่อมที่ฐานด้านล่างให้เป็น
รูปทรงสี่เหลี่ยมย่อมุมแล้วใส่แข้งสิงห์เข้าไป ซึ่ง
เป็นรูปแบบเจดีย์ย่อมุมในสมัยอยุธยาตอนปลาย
ได้ และมีผู้ไปค้นข้อมูลมาสันนิษฐานไปว่า สมเด็จ
พระเจ้าอยู ห ่ ว ั บรมโกศ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ น ้ คราว
เสด็จไปคล้องช้างป่าที่เมืองเพชรบุรี ข้อสันนิษฐาน
เช่นนี จ ้ ง ึ ท�ำให้เจดีย แ ์ ดงขนาดใหญ่โตองค์น ก ี้ ลายเป็น
เจดีย์สมัยอยุธยาตอนปลายไป
ทั้งที่น่าจะเป็นเจดีย์องค์ส�ำคัญองค์หนึ่งท
สร้างขึ้นในช่วงอโยธยา-สุพรรณภูมิ ในช่วงราว
พุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ อันเป็นช่วงที่เมืองเพชรบุร
ดั้งเดิมเริ่มพัฒนาจากเมืองกลายเป็นนครในช่วงนั้น
แล้ว
พระพุทธรูปที่ได้รับอิทธิพลแบบอมราวดีพบที่วัดเก่าเขาน้อย
ปราณบุรี เก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์วชิรปราสาท วัดพริบพร
เจดีย์แดง
อยู่นอกเมืองเก่าเพชรบุรี ไปทางใต้ราว ๒
กิโลเมตร ทางแม่น�้ำเพชรทางฝั่งตะวันตกในต�ำบล
บ้านหม้อใกล้ทางบ้านลาด เป็นเจดีย ข ์ นาดใหญ่ท ย ี่ ง ั
คงเห็นรูปทรงที่ถูกบูรณะเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน
เป็นเจดีย ก ์ อ ่ อิฐไม่สอปูน สภาพผุกร่อนจนเห็นเนื อ ้ อิฐ
สีแดงจัด ฐานรูปสี เ ่ หลี ย ่ มจัต ร ุ ส ั ขนาดราว ๑๐ เมตร
สูงประมาณ ๒๐ เมตร เหนือเรือนธาตุม ค ี ห ู าทางทิศ
ตะวันออก ท�ำเป็นซุ ม ้ ประตู ในคูหาเป็นห้องสี เ ่ หลี ย ่ ม
ส่วนด้านอื่นๆ อีก ๓ ด้านท�ำเป็นประตูหลอก
46
เจดีย์แบบอโยธยา-สุพรรณภูมิ แต่มีการซ่อมที่ฐานด้านล่าง
ให้เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมย่อมุมแล้วใส่แข้งสิงห
เที่ยวตามตำ�นาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตรา-เจ้าลาย-ตาม่องไล่-เจ้ากรุงจีน