เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น ฯลฯ เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตราฯ | Page 45

แผ่นกระเบื้องจารที่กล่าวว่าพบที่เมืองคูบัว มีการสร้างพิพิธภัณฑ์วชิรปราสาท โดย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระครูพิศิษฐศิลปาคม ช่วง พ.ศ. ๒๔๙๐–๒๕๒๔ น�ำเอาวัตถุโบราณและพระพุทธรูปท มีค า ่ ของที เ ่ จ้าอาวาสองค์ก อ ่ นๆ รวบรวมไว้มาจัดเก็บ ไว้ในที่เดียวกัน เช่น พระพุทธรูปส�ำคัญปางต่างๆ พระบรมสารีร ก ิ ธาตุ ถ้วยชามสังคโลกและเบญจรงค์ มีแผ่นกระเบื อ ้ งจารที ม ่ อ ี ก ั ษรที่ไม่ม น ี ก ั ภาษา โบราณท่านใดอ่านได้ แต่กล่าวว่าท�ำขึ้นในสมัย สุวรรณภูม แ ิ ละแปลกันอย่างเป็นเรื อ ่ งเป็นราวโดยใน ครั ง ้ หนึ ง ่ มีผ ท ้ ู รงความรู ห ้ ลายท่านเชื อ ่ ถือ กล่าวว่าได มาจากแหล่งโบราณสถานบ้านคูบัว  จัดแสดงให้ได ชมในอาคารพิพิธภัณฑ์ด้วย ที่น่าสนใจคือพระพุทธรูปธรรมโมรา เป็น พระพุทธรูปยืน กล่าวว่าท�ำด้วยเนื อ ้ ทองโมรา หมาย ถึงส่วนผสมระหว่างทองค�ำกับดีบุก (แต่อาจจะเป็น ส�ำริดก็ได้) สูง ๒๒ นิ้ว พระครูพิศิษฐศิลปาคมพบท วัดเขาน้อย อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีร ข ี น ั ธ พระพุทธรูปองค์น เ ี้ ป็นพระยืน อาจจะเป็นปางแสดง ธรรมวิตรรกะหรือปางประทานอภัยที่มีการปรับ แต่งอยู่บ้าง จีวรมีลายริ้ว รูปแบบได้รับอิทธิพลจาก พระพุทธรูปแบบอมราวดีอายุในราวพุทธศตวรรษ ที่ ๙-๑๐ และพบพระพุทธรูปที่ได้รับอิทธิพลแบบ อมราวดีเช่นนี้ตามชุมชนเส้นทางการค้าหลายแห่ง ทั้งในแถบใกล้ชายฝั่งทะเลและลึกเข้าไปในแผ่นดิน เช่น ที่นครราชสีมา ปราสาทดงเดืองในเวียดนาม ตอนกลาง พม่า มาเลเซีย อินโดนีเซีย สุไหงโกลก มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 45