เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น ฯลฯ เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตราฯ | Page 41
อู่ทองเปลี่ยนศูนย์กลางอ�ำนาจมาเป็นอาณาจักร
อยุธยาแทนเมื่อ พ.ศ. ๑๘๙๓-๙๔ ประวัติศาสตร
ช่วงนี้ต้องอาศัยต�ำนานต่างๆ ประกอบการอธิบาย
อย่างมาก และเพชรบุรีนับเป็นเมืองที่มีส่วนร่วม
ส�ำคัญแห่งหนึ่งในการวิเคราะห์สถานการณ์ก่อน
การสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางของรัฐแห่ง
ใหม
ต�ำนานเมืองนครศรีธรรมราชและต�ำนาน
พระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราช เป็นเรื่องเล่า
ที่มีผู้จดบันทึกไว้ภายหลัง กล่าวถึงเมืองเพชรบุรีว่า
เป็นเมืองร่วมสมัยกับเมืองนครศรีธรรมราชและม
กษัตริย์ปกครอง ทางฝ่ายเมืองนครฯ คือพญาศร
ธรรมาโศกราช ฝ่ายเมืองเพชรบุรีคือพระเจ้าอู่ทอง
ภายหลังมีปัญหาเรื่องเขตแดนรบกันไม่แพ้ไม่ชนะ
จึงตกลงท�ำสัญญาแบ่งเขตและเป็นไมตรีต่อกัน ทั้ง
ฝากฝังเครือญาติและแลกเปลี่ยนทรัพยากร โดย
เฉพาะฝ่ายเมืองนครฯ ขอเกลือจากเมืองเพชรบุร
แต่หลังจากนั้นเมืองนครฯ จึงร้างเป็นป่าเป็นดง
ต่อมา พระพนมทะเลศรีมเหสวัสดิทราธิราช
กษัตริย์ เจ้านายซึ่งมีเชื้อสายกษัตริย์จากอโยธยา
มาตั้งบ้านเมืองริมสมุทรที่นครเพชรบุรี แล้วสร้าง
ชุมชนท�ำนาเกลือ อีกทั้งท�ำนาอยู่ที่บางสะพาน ต่อ
มาได้ติดต่อค้าขายกับส�ำเภาจากราชส�ำนักจีนซึ่งซื้อ
ไม้ฝางกลับไป
เหตุการณ์ในต�ำนานพ้องกับจดหมายเหตุจ น ี
ที เ ่ มืองเพชรบุร ส ี ง ่ ทูตน�ำเครื อ ่ งราชบรรณาการไปยัง
ราชส�ำนักหยวน เมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๗
จะเห็ น ว่ า ทรั พ ยากรที่ ส� ำ คั ญ ของเมื อ ง
เพชรบุรีนั้นคือ เกลือ รวมไปถึง ไม้ฝาง ทั้งมีพื้นท
ท�ำนาปลูกข้าว และเป็นเมืองท่าชายฝั่งทะเลที่เป็น
ศูนย์กลางทั้งการเดินเรือเลียบชายฝั่งและเส้นทาง
ข้ามคาบสมุทร
พื น ้ ฐานเหล่านี เ ้ พียงพอจะท�ำให้เพชรบุร เ ี ป็น
นครส�ำคัญแห่งหนึ่งในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙
โดยสรุปทั้งข้อมูลจาก จารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ และ
ต� ำ นานเมื อ งนครศรี ธ รรมราชแล้ ว พงศาวดาร
เหนือ ค�ำให้การชาวกรุงเก่าฯ พงศาวดารฉบับวัน
วลิต จดหมายเหตุลาลูแบร์ จนถึงจุลยุทธการวงศ
ยั ง มี เ นื้ อ หาที่ สั น นิ ษ ฐานได้ ว ่ า บั น ทึ ก จากค� ำ บอก
เล่าแบบต�ำนานที่กล่าวถึง เรื่องของท้าวอู่ทองและ
เมืองเพชรบุรี เข้าไปเกี่ยวข้องด้วย ท�ำให้เห็นภาพ
ว่าเมืองเพชรบุรีอยู่ ในเส้นทางการติดต่อและการ
ค้าระยะทางไกลทางบกคือ ราชบุรี สุพรรณบุร
แพรกศรีราชา ก�ำแพงเพชร พิษณุโลก นครไทย
ไปยังลุ่มน�้ำโขงเวียงจันทน์และเวียงค�ำ ส่วนทาง
ทะเล ผ่านนครศรีธรรมราช ปัตตานี บ้านเมืองใน
คาบสมุทรมลายู ความสัมพันธ์เหล่านี้ ท�ำให้เกิด
การผสมผสานระหว่างกลุ ม ่ คนหลายกลุ ม ่ โดยสร้าง
ความสัมพันธ์ผ่านการแต่งงานโดยเฉพาะกษัตริย
และชนชั้นน�ำ จนเกิดเป็นวัฒนธรรมหลักๆ ในช่วง
เวลานั้น
การสังสรรค์ทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และ
สังคม ผ่านการผสมผสานจากกลุ่มคนหลากหลาย
กลุ่มนี้เอง อาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดมให้ความเห็น
ว่า น่าจะเป็นสาเหตุหลักในการแสดงออกอย่าง
ชัดเจนในการใช้ภาษาและตัวอักษรของบ้านเมืองใน
ลุ ม ่ เจ้าพระยาหรือภาคกลางของประเทศไทยในเวลา
ต่อมา นั น ่ คือ เลือกที จ ่ ะใช้ ภาษาไทยและอักษรไทย
กล่าวได้ว่าวัฒนธรรมผสมผสานเหล่านี้ คือรากฐาน
ของวัฒนธรรม สยามประเทศ ในกาลต่อมา
ลักษณะของความเป็นเมืองระดับนครสืบ
ต่อตั้งแต่เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ จนมีการ
สถาปนาราชธานีที่กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นอาณาจักร
รวมศู น ย์ แ ห่ ง แรกของสยามประเทศอย่ า งเป็ น
ทางการใน พ.ศ. ๑๘๙๓ เมืองเพชรบุรีได้กลาย
เป็นหนึ ง ่ ในหัวเมืองปากใต้ส ำ � คัญที ม ่ ข ี น ุ นางปกครอง
ขึ้นตรงต่อกรุงศรีอยุธยาสืบเนื่องเรื่อยมาจนกระทั่ง
ปัจจุบันไม่ได้ร้างลงแต่อย่างใด
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ
41