เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น ฯลฯ เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตราฯ | Page 40

แต่เดิม ลักษณะเป็นเมืองอกแตก เพราะขยายตัว ไปยังพื้นที่ฝั่งตะวันตกจากแถบเขาวังมาบรรจบกับ ล�ำน�้ำเพชรและวัดส�ำคัญ เช่น วัดมหาธาตุและวัด อื่นๆ ของเมืองกระจายตัวอยู่ริมฝั่งน เมืองเพชรบุรี ได้อาศัยล�ำน�้ำเพชรบุรีเป็น คูเมืองและเป็นบริเวณหน้าเมืองที ม ่ ป ี ระตูออกสู ท ่ อ ้ ง น�้ำ ท�ำให้เป็นพื้นที่ทางเศรษฐกิจและสังคมที่ผู้คน สัญจรไปมาตามล�ำน� ำ ้ จากอ�ำเภอบ้านลาดผ่านเมือง ไปทางเหนือเพื่อออกทะเลที่อ่าวบางตะบูนและอ่าว บ้านแหลม ในบริ เ วณก� ำ แพงเมื อ งก็ มี วั ด ส� ำ คั ญ ที่ ม พัฒนาการมาแต่สมัยทวารวดีและลพบุรี ได้แก วัดพริบพรี และวัดก�ำแพงแลง ในขณะที่ วัดใหญ สุวรรณาราม เป็นวัดศูนย์กลางของพิธีกรรมของ บ้านเมืองในสมัยกรุงศรีอยุธยา ทั้งเมืองรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสและวัดก�ำแพง แลง รวมไปถึงความเก่าแก่ของบริเวณวัดพริบ พรี ก�ำหนดได้ว่าเป็นชุมชนขนาดใหญ่ที่เกิดขึ้นราว พุทธศตวรรษที่ ๑๘ ร่วมสมัยกับรัชกาลพระเจ้า ชัยวรมัน ที่ ๙ แห่งเขมร มีศูนย์กลางทางความ เชื่อขนาดใหญ่อยู่ที่วัดก�ำแพงแลง และต่อมาม พัฒนาการกลายเป็น เมือง ระดับ นคร และม ความสัมพันธ์กับบ้านเมืองที่อยู่ภายใน เช่น สุโขทัย แพรกศรีราชา สุพรรณภูมิ ราชบุรี และบ้านเมือง ทางแถบคาบสมุทรที่นครศรีธรรมราช ซึ่งปรากฏ เนื้อความอยู่ในจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ และจารึกวัด เขากบ ในพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ซึ่งเห็นได้ชัดว่ามีการ ติดต่อกับบ้านเมืองโพ้นทะเล ดังเราพบในเอกสาร จดหมายเหตุจากราชส�ำนักจีน อีกทั ง ้ ในต�ำนานเมือง นครศรีธรรมราชที่กล่าวถึงการติดต่อกับราชส�ำนัก จีนไว้โดยสอดคล้องกัน โดยบันทึกจากราชส�ำนักจีนช่วงเวลานั้นได กล่าวถึงบ้านเมืองขนาดใหญ่สองแห่งที่แยกกันส่ง เครื่องราชบรรณาการตั้งแต่ราว พ.ศ. ๑๘๓๕-พ.ศ. 40 ๑๘๖๕ คือ เสียน และ หลอหู ซึ่งเป็นรัฐอยู่ในเขต ภาคกลางของดินแดนประเทศไทย ในขณะเดียวกัน ประวัติศาสตร์สมัยราชวงศ์หยวนก็กล่าวว่าสุโขทัย ส่งเครื่องราชบรรณาการแก่ราชส�ำนักจีนในปี พ.ศ. ๑๘๔๒ อีกแห่งหนึ่ง โดยเขียนถึง เพชรบุรี ว่า กัมร เตง ที่เป็นเจ้าเมือง ปี๋ฉาปู้หรี่ น่าจะคือเพชรบุรีส่ง ทูตถวายเครื่องราชบรรณาการในปี พ.ศ. ๑๘๓๗ ส� ำ หรั บ หลอหู ไ ม่ มี ป ั ญ หาว่ า คื อ ละโว ศูนย์กลางคือลพบุรี ส่วนเสียนนั้นมีความพยายาม สันนิษฐานกันว่าศูนย์กลางอยู ท ่ ี่ใด เสียนเป็นค�ำเดียว กับค�ำว่าเสียมหรือสยาม นักประวัต ศ ิ าสตร์ส ว ่ นใหญ ลงความเห็นว่า สุโขทัยคือศูนย์กลางของรัฐเสียน แต อาจารย์ศรีศ ก ั รให้ความเห็นว่าน่าจะอยู ท ่ ส ี่ พ ุ รรณภูม เพราะในช่วงนั้นราว พ.ศ. ๑๘๔๐ จดหมายเหต ของโจวต๋ากวานกล่าวถึง เสียนหลอหู แสดงว่าบ้าน เมืองทั้งสองแห่งที่แยกกันได้รวมเป็นหนึ่งเดียวแล้ว ซึ่งพ้องกับต�ำนานและสภาพการณ์ของบ้านเมืองใน ภูมิภาคตะวันตกในลุ่มท่าจีนและแม่กลอง ในเวลาใกล้เคียงกัน ทางราชส�ำนักหยวน ยอมรั บ ทู ต จาก กั ม รเตงแห่ ง เพชรบุ รี และจั ด เพชรบุรีอยู่ในประเภท เฉิง หรือ นคร แต่ไม่จัดเป็น ประเภท กว๋อ หรือ รัฐ หรือ ประเทศ และยอมรับ ทูตจากสุโขทัย รวมถึงทูตจากเสียนและหลอหู ด้วย ดังนั้นไม่ว่าจะเป็น นคร หรือ รัฐ ก็สามารถส่งทูต ไปสู ร ่ าชส�ำนักจีนได้ หากมีศ ก ั ยภาพเพียงพอ เช่น ม เรือส�ำเภา มีความช�ำนาญ หรือมีความสัมพันธ์กับ บ้านเมืองที เ ่ ป็นเมืองท่า โดยไม่จ ำ � เป็นต้องอาศัยการ บังคับบัญชาหรือมีอ�ำนาจแบบรวมศูนย์เท่านั้น และ ทางการจีนก็ยอมรับสภาพของบ้านเมืองที่ประกอบ ไปด้วยบ้านเล็กเมืองน้อยต่างๆ กันของภูมิภาคน พุทธศตวรรษที่ ๑๙ ก่อนการสถาปนากรุง ศรีอยุธยาอย่างเป็นทางการ ช่วงเวลานี ย ้ ง ั เป็นปัญหา ของนักวิชาการส่วนใหญ่ ในอดีตจึงมักกล่าวอย่าง สรุปๆ ว่าคนไทยที อ ่ าณาจักรสุโขทัยถูกกลุ ม ่ ราชวงศ เที่ยวตามตำ�นาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตรา-เจ้าลาย-ตาม่องไล่-เจ้ากรุงจีน