เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น ฯลฯ เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตราฯ | Page 38
การตกแต่ง ประติมากรรมรูปบุคคลบางชิ น ้ จะแสดง
ท่าทาง เช่น พนมมือ จีบนิ้วคล้ายท่าร่ายร�ำ บ้างก
จะถือสิ ง ่ ของซึ ง ่ ส่วนใหญ่ช ำ � รุดสันนิษฐานว่าเป็นด้าม
อาวุธหรือก้านดอกบัว รูปบุคคลแต่ละชิ้นเป็นการ
ปั้นโดยใช้จินตนาการของช่างปั้นที่แตกต่างกันไปม
เอกลักษณ์เฉพาะตัว ไม่มีการใช้แม่พิมพ์เช่นที่พบ
จากเมืองโบราณนครปฐม
พบชิ้นส่วนซุ้มเรือนแก้วหรือกุฑุปูนปั้น มัก
จะพบว่ามีประติมากรรมรูปพระพุทธรูป รูปพระ
โพธิสัตว์ และรูปบุคคลประดิษฐานหรือประดับอยู
ภายใน
โบราณวัตถุที่พบ เช่น พระพุทธรูปสัมฤทธ
ทรงยืนตริภ ง ั ค์ ทรงครองจีวรห่มคลุม พระหัตถ์ซ า ้ ย
ทรงถือชายจีวร สภาพช�ำรุดพระเศียร พระกร และ
พระบาทหัก ตลับรูปแตงเคลือบขาวและกระปุกดิน
เผาทรงกลมเคลือบเขียวอมฟ้าภายในบรรจุอัฐิเป็น
เครื่องถ้วยจีนจากเตาหนานอัน มณฑลฝูเจี้ยน สมัย
ราชวงศ์ซุ้งเหนือ ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๗
นอกจากนี้ ยังกล่าวกันว่าพบศาสนสถาน
บริเวณยอดเขาเทือกเดียวกับเขาเจ้าลาย และภายใน
ถ�้ำของภูเขาที่อยู่ใกล้เคียง ส่วนพื้นที่การอยู่อาศัย
อยู่ใกล้เคียงกับเจดีย ใ ์ หญ่น น ั้ มีเนินดินที เ ่ ป็นร่องรอย
ของการอยู่อาศัยไม่ต�่ำกว่า ๘-๑๐ ไร่ แต่ส่วนใหญ
ถูกไถท�ำลายไปจนเกือบหมด
น่าสังเกตว่า ศาสนสถานขนาดใหญ่มักจะ
ก่อสร้างอยู่ในปริมณฑลของเมืองที่เป็นศูนย์กลาง
แต่การมีเจดีย ร ์ ป ู แบบมาตรฐานเดียวกับเจดีย ท ์ ส ี่ ร้าง
กันอยู่ในบริเวณเมืองคูบัวและมีขนาดใหญ่เทียบได
กับเจดีย ส ์ ำ � คัญของเมือง รวมทั ง ้ มีการอยู อ ่ าศัยอย่าง
ถาวรตั ง ้ แต่ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๓ ไปจนถึงราว
พุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๗ จนอาจกล่าวได้ว า
แม้ช ม ุ ชน
นี จ ้ ะไม่ม ก ี ารสร้างคูน ำ �้ คันดินและมีองค์ประกอบของ
การเป็นเมืองขนาดใหญ่ แต่สถานที่นี้มีความส�ำคัญ
ต่อเมืองคูบัวในฐานะเป็นสถานีการค้าอันเป็นจุด
38
สังเกตของการเดินเรือเลียบชายฝั่งอันมีรูปแบบท
แน่นอนมาแต่ครั้งโบราณ และอยู่ในจุดพักของการ
เดินทางบกข้ามคาบสมุทรจากเมืองคูบัวผ่านเทือก
เขาตะนาวศรีสู่เมืองท่าทางฝั่งอ่าวเบงกอล ชุมชน
สมัยทวารวดีที่เชิงเขาเจ้าลายจึงเพิ่มมิติของเครือ
ข่ายสนับสนุนต่อการเป็นเมืองท่าส�ำคัญของเมือง
คูบัวให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
เมืองเพชรบุรีในพุทธศตวรรษที่ ๑๘
หลังจากสมัยทวารวดีผ า ่ นไป ฐานะการเป็น
เมืองท่าภายในของ เมืองคูบัว ก็เปลี่ยนศูนย์กลาง
ไปอยู่ที่ เมืองราชบุรี ในระยะเดียวกันราวพุทธ
ศตวรรษที่ ๑๘ ก็เกิด เมืองเพชรบุรี เป็นเมืองท่า
ภายในศูนย์กลางการคมนาคมทั ง ้ ทางบกและทางน� ำ ้
ทั้งเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรที่ส�ำคัญ เช่น เกลือ
ไม้หอม ไม้ฝาง สะดวกและเหมาะสมกับสภาพบ้าน
เมืองในช่วงเวลานั้นกว่าชุมชนสถานีการค้าที่ชะอ�ำ
แ ล ะ จ า ก นั้ น เ พ ช ร บุ รี ถื อ เ ป ็ น น ค ร
ประวัติศาสตร์ที่มีการอยู่อาศัยสืบเนื่องตลอดมา
คล้ายกับเมืองโบราณอีกหลายแห่งที่ไม่เกิดการทิ้ง
ร้างไป อาจจะด้วยถิ น ่ ฐานที ต ่ ง ั้ และสภาพแวดล้อมซึ ง ่
ยังคงความส�ำคัญและอุดมสมบูรณ์จนท�ำให้เกิดการ
สืบเนื่องของกลุ่มคนกลุ่มเก่าและใหม่ผสมผสานกัน
มาโดยตลอด
เมืองเพชรบุรี ที่มีก�ำแพงและคูน�้ำล้อมรอบ
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น�้ำ
เพชรบุรี ปัจจุบ น ั ไม่คงเหลือสภาพแต่อย่างใดคูเมือง
และก�ำแพงเมือง ที่มีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเกือบ
จะด้านเท่า ความยาวของแนวคูเมืองก�ำแพงเมือง
แต่ละด้านประมาณ ๑,๒๐๐ เมตร และ ๑,๓๐๐
เมตร ซึ่งเป็นขอบเขตของเมืองที่ค่อนข้างใหญ่และ
ใช้แม่น�้ำเพชรบุรีเป็นคูเมืองด้านทิศตะวันตกแต่ก็ม
แนวคันดินและแนวก�ำแพงเมืองและประตูเมืองมา
เที่ยวตามตำ�นาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตรา-เจ้าลาย-ตาม่องไล่-เจ้ากรุงจีน